Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29129
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จินตนา ยูนิพันธุ์ | |
dc.contributor.author | พยุงจิต วรมุนินทร | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-02-26T11:34:05Z | |
dc.date.available | 2013-02-26T11:34:05Z | |
dc.date.issued | 2529 | |
dc.identifier.isbn | 9745666068 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29129 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาขอของการใช้กระบวนการสัมพันธ์ภาพ แบบตัวต่อตัว เพื่อการักษาที่มีต่อพฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช ตัวอย่างประชากรที่ ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ป่วยจิตเวชที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลสมเด็จ เจ้าพระยาจำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองโดยการจับฉลาก กลุ่มทดลอง จะได้การพยาบาลที่เน้นการใช้กระบวนการสัมพันธภาพแบบตัวต่อตัวเพื่อการักษา โดยผู้ช่วยวิจัย 10 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มี 2 ชุด คือ แบบวัดพฤติกรรมผู้ป่วยจิตเวช ซึ่งสร้างโดยผู้วิจัย และหาความตรงตามเนื้อหา หาความเที่ยงของแบบทดสอบ ตามแบบของครอนบาช ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.93 สำหรับแบบสังเกตพฤติกรรมผู้ป่วยจิตเวช ซึ่งสร้างโดยผู้วิจัย และหาความตรงตามเนื้อหา หาความเที่ยงของการประเมินโดยแบบสังเกตโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนตามแบบของ ประคอง กรรณสูต ได้ค่า ความเที่ยง เท่ากับ 0.83 ข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบวัดและแบบพฤติกรรมผู้ป่วยจิตเวชนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการประเมินโดยแบบสังเกตพฤติกรรมผู้ป่วย ระหว่างก่อนและหลังการทดลอง ในผู้ป่วยกลุ่มที่ได้การพยาบาลตามปกติ และกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลโดยใช้กระบวบการสัมพันธภาพแบบตัวต่อตัวเพื่อการรักษา โดยการทดสอบค่า t และเปรียบเทียบผลการประเมินพฤติกรรมผู้ป่วยภายหลังการทดลองระหว่างผู้ป่วยในกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ และผู้ป่วยในกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลโดยใช้กระบวบการสัมพันธภาพแบบตัวต่อตัวเพื่อการรักษา โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ขอการเปรียบเทียบคะแนนที่ได้จากการประเมินพฤติกรรมของผู้ป่วย ทั้งโดยแบบวัดพฤติกรรมและแบบสังเกตพฤติกรรมผู้ป่วยจิตเวช ระหว่างก่อนและหลังการทดลอง พบว่าในกลุ่มควบคุม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และในกลุ่มทดลอง มีความแตกต่างกับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยหลังการทดลอง พฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช ทั้งในกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลอง ได้เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ขึ้น ผลการวิจัยจึงเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยข้อที่ 1 2. ขอการเปรียบเทียบคะแนนที่ได้จากการประเมินพฤติกรรม โดยแบบวัดพฤติกรรมผู้ป่วยจิตเวช ของผู้ป่วยจิตเวชหลังการทดลอง ระหว่างผู้ป่วยกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่เมื่อประเมินพฤติกรรมของผู้ป่วยโดยแบบสังเกตพฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยหลังการทดลองพฤติกรรมของผู้ป่วยจิกเวชในกลุ่มทดลอง เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นกว่าพฤติกรรม ของผู้ป่วยจิตเวชในกลุ่มควบคุม ดังนั้น จึงไม่ยอมรับสมมติฐานการวิจัยข้อที่ 2. ผลการวิจัยดังกล่าวสนับสนุนการนำกระบวนการสัมพันธ์ภาพแบบตัวต่อตัวเพื่อ การักษาไปใช้ในหอผู้ป่วยจิตเวช ทั้งนี้สอดคล้องกับข้อเสนอแนะของผู้วิจัย ซึ่งเป็นผู้ทดลองใช้กระบวนการดังกล่าว โดยมีจุดมุ่งหมายที่คุณภาพของการพยาบาลจิตเวช | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to study effects of using therapeutic one-to-one relationship process on patients' behaviors. The research samples, 40 in-patients in Somdet Chaopraya Hospital, were devided randomly into an experimental group and a control group. The first group received psychiatric care provided by team members and nursing care focused on using therapeutic one-to-one relationship process by 10 research assistants, whereas the later received psychiatric care provided by team members only. Two research instruments developed by the researcher were patients' behavior checklist and patients' behavior rating scale. Both instruments had been evaluated for content validity by 10 experts. The reliability of the checklist was 0.93» while that of the rating scale was 0.83. Statistic procedures used in analyzing the collected data were arithmetic mean, standard deviation, t-test and analysis of covariance. The conclusions drawn from the analysis of the gathered data were followed: 1. There was a significant difference at .01 level, and .001 level among the arithmetic means of pre and post test scores measured by the patients1 behavior checklist and rating scale in the control group and the experimental group, consequently. Therefore, the first research hypothesis was supported. That was, the behaviors of the patients who receiving nursing care focused on using therapeutic one-to-one relationship process was positively changed after three- week experiment. 2. There was no significant difference between the post test scores of the experimental and the control group when measured by the checklist. On the other hand, there was a significant difference at .05 between posttest scored of the two groups Y/hen measured by the rating scale. Thus, the second research hypothesis was rejected. That was, the behaviors of the patients who recieved general psychiatric car§ and nursing care focused on using therapeutic one-to-one relationship process were insignificant different from those of the patients who received general psychiatric care only. Although the findings were inconclusive in favor the using of therapeutic one-to-one relationship process, the researcher suggested several implications based upon the recommendations from the researdh assistants who were psychiatric nursing staff and willingly participated in this research for the purpose of trying the new nursing techniques to improving the quality of nursing care. | |
dc.format.extent | 6213320 bytes | |
dc.format.extent | 6504781 bytes | |
dc.format.extent | 21258876 bytes | |
dc.format.extent | 7496400 bytes | |
dc.format.extent | 2793585 bytes | |
dc.format.extent | 8910091 bytes | |
dc.format.extent | 30289093 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ผลของการใช้กระบวนการสัมพันธภาพแบบตัวต่อตัวเพื่อการรักษา ที่มีต่อพฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช | en |
dc.title.alternative | Effects of using therapeutic one-to-one relationship process on psychiatric patients' behaviors | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | พยาบาลศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Payoongchit_vo_front.pdf | 6.07 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Payoongchit_vo_ch1.pdf | 6.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Payoongchit_vo_ch2.pdf | 20.76 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Payoongchit_vo_ch3.pdf | 7.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Payoongchit_vo_ch4.pdf | 2.73 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Payoongchit_vo_ch5.pdf | 8.7 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Payoongchit_vo_back.pdf | 29.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.