Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29176
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนพพงษ์ บุญจิตราดุลย์
dc.contributor.authorมยุรี รัตนมุง
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-02-28T11:30:17Z
dc.date.available2013-02-28T11:30:17Z
dc.date.issued2534
dc.identifier.isbn9745788317
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29176
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา และเปรียบเทียบการรับรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมภาวะผู้นำของศึกษาธิการจังหวัด ตามการรับรู้ของตนเอง ผู้ช่วยศึกษาธิการจังหวัด หัวหน้าฝ่ายในสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด และศึกษาธิการอำเภอ ผลการวิจัยพบว่า ศึกษาธิการจังหวัด มีพฤติกรรมภาวะผู้นำในฐานะเป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่ม เป็นผู้ที่รู้จักการปรับปรุงแก้ไข เป็นผู้ที่ให้การยอมรับนับถือ เป็นผู้ให้การช่วยเหลือที่ดี เป็นผู้ประสานงานที่ดี เป็นนักพูดที่เก่ง และเป็นผู้ที่เข้ากับสังคมได้ดี นั้นได้ปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อเปรียบเทียบการรับรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมภาวะผู้นำของศึกษาธิการจังหวัด ตามการรับรู้ของตนเอง ผู้ช่วยศึกษาธิการจังหวัด หัวหน้าฝ่ายในสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดและศึกษาธิการอำเภอ แล้วพบว่าความคิดเห็นโดยทั่ว ๆ ไปสอดคล้องกัน คือ มีความเห็นว่า ศึกษาธิการจังหวัดปฏิบัติอยู่ในระดับมาก และผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ปรากฏว่าค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 อยู่ 6 ด้าน คือ ผู้นำในฐานะเป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่ม ผู้นำในฐานะเป็นผู้ที่รู้จักการปรับปรุงแก้ไข ผู้นำในฐานะเป็นผู้ที่ให้การยอมรับนับถือ ผู้นำในฐานะเป็นผู้ให้การช่วยเหลือที่ดี ผู้นำในฐานะเป็นผู้ประสานงานที่ดี ผู้นำในฐานะเป็นผู้ที่เข้ากับสังคมได้ดี ส่วนด้านที่ไม่แตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 คือ ผู้นำในฐานะเป็นนักพูดที่เก่ง ส่วนการลำดับความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำของศึกษาธิการจังหวัด ตามคาดหวังของศึกษาธิการจังหวัด ผู้ช่วยศึกษาธิการจังหวัด หัวหน้าฝ่ายในสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด และศึกษาธิการอำเภอ ปรากฏว่า การจัดลำดับความสำคัญ จัดลำดับได้ดังนี้ ผู้นำในฐานะเป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่ม ผู้นำในฐานะเป็นผู้ประสานงานที่ดี ผู้นำในฐานะเป็นผู้ที่รู้จักการปรับปรุงแก้ไข ผู้นำในฐานะเป็นผู้ที่ให้การยอมรับนับถือ ผู้นำในฐานะเป็นผู้ที่เข้ากับสังคมได้ดี ผู้นำในฐานะเป็นผู้ให้การช่วยเหลือที่ดี และผู้นำในฐานะเป็นนักพูดที่เก่ง
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research is to study and compare the perception of leadership behavior of provincial education officers among the provincial education officers themselves, deputy provincial education officers, department heads under the provincial education office and district education officers. It is found that provincial education officers were rated “hight” in practicing leadership behavior as being an initiator, an improver, a recognizer, a helper, a co-ordinator, an effective speaker and a social man. The comparison of the perception of leadership behavior of provincial education officers among the provincial education officers themselves, deputy provincial education officers, department heads under the provincial education office and district education officers shows that their perception are in agreement with one another’s. Although provincial education officers were rated “high” in practicing leadership behavior, when applying One-way analysis of variance to the rating, it is found that there is only statistical significant supporting evidence (p<.05) in the practice of the following six areas: being an initiator, an improver, a recognizer, a helper, a coordinator and a social man. Being an effective speaker is not statistical significant (p<.05). The order of importance of leadership characteristic behaviors as perceived by provincial education officers themselves, deputy provincial education officers, department heads under the provincial education office and district education officers is as follows: being an initiator, a coordinator, an improver, a recognizer, a social man, a helper and an effective speaker.
dc.format.extent13922448 bytes
dc.format.extent8518456 bytes
dc.format.extent21227778 bytes
dc.format.extent5685205 bytes
dc.format.extent31893909 bytes
dc.format.extent11627263 bytes
dc.format.extent32499149 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleพฤติกรรมภาวะผู้นำของศึกษาธิการจังหวัด ตามการรับรู้ของตนเองผู้ช่วยศึกษาธิการจังหวัด หัวหน้าฝ่ายในสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดและศึกษาธิการอำเภอen
dc.title.alternativeLeadership behaviour of provincial education officers as perceived by themselves, deputy provincial education officers, department heads under the provincial education office and district education officersen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mayuree_ra_front.pdf13.6 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_ra_ch1.pdf8.32 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_ra_ch2.pdf20.73 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_ra_ch3.pdf5.55 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_ra_ch4.pdf31.15 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_ra_ch5.pdf11.35 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_ra_back.pdf31.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.