Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29187
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิทยา สุจริตธนารักษ์ | |
dc.contributor.advisor | จรูญ สุภาพ | |
dc.contributor.author | เสนีย์ คำสุข | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-02-28T12:33:42Z | |
dc.date.available | 2013-02-28T12:33:42Z | |
dc.date.issued | 2538 | |
dc.identifier.isbn | 9746329103 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29187 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาเรื่องนี้มีจุดมุ่งหมายเพี่อจะตอบคำถามที่ว่า “พรรคการเมืองไทยคืออะไร” และ “มีปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้พรรคการเมืองไทยมีรูปแบบเช่นนั้น” การศึกษาจึงเน้นพิจารณา ประเด็นของการก่อเกิดพรรค และการเปลี่ยนแปลงของพรรคการเมืองโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ช่วงเวลา 23 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2512-2534 ซึ่งเป็นช่วงที่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2511 จนถึงช่วงที่พรรคได้ยุติบทบาท ทางการเมืองไประยะหนึ่ง จากสาเหตุของการรัฐประหาร และนอกจากนั้นยังได้เน้นศึกษาพรรคการเมือง 3 พรรค ที่มีบทบาททางการเมืองอย่างสำคัญ ในช่วงเวลาดังกล่าวนี้ด้วย คือ พรรคประชาธิปัตย์ พรรคกิจสังคม และพรรคชาติไทย ประเด็นสำคัญของสมมติฐานในการศึกษาก็คือ พรรคการเมืองเป็นองค์กรทางการเมืองของคน กลุ่มเล็กไม่กี่คน (core group) โดยมีผู้นำที่มีอำนาจมากที่สุดคนหนึ่งเป็นศูนย์กลางขององค์กรพรรค นอกจากผู้นำแล้วก็มีกลุ่มคนที่อยู่ใกล้ชิดกับผู้นำกลุ่มหนึ่ง เป็นองค์ประกอบสำคัญ และมีปัจจัยทางการ “เงิน” เป็นปัจจัยสนับสนุนในการดำเนินงานทางการเมืองของพรรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ก่อนที่จะผ่านเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดตั้งรัฐบาล ผลการศึกษาได้ค้นพบว่า พรรคการเมืองไทยก่อตั้งขึ้นด้วยคนกลุ่มเล็ก ๆ เพียงไม่กี่คนโดยส่วน ใหญ่เป็นนักการเมืองที่มีหรือเคยมีบทบาทอยู่ในรัฐสภา และคนเหล่านั้นมีความสนิทสนมรู้จักกันเป็นการส่วนตัวในฐานะใดฐานะหนึ่ง หรือเป็น “พวก” (cliques or factions) เดียวกัน มีความใกล้ชิดกัน โดย : ตกลงกันยกย่องให้ผู้นำพวกคนหนึ่งขึ้นดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคการรวมพวกกันก็เพี่อมุ่งหวังจะจัดหาสมาชิกลงสมัครรับเสือกตั้งในการเลือกตั้งทั่วไปที่มีขึ้นในแต่ละครั้ง เหตุนี้จึงต้องมีการ “ดึงพวก” อื่นเข้า มาร่วม โดยเฉพาะอย่างยิ่งอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นักธุรกิจและผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่นต่าง ๆ หลัง ; การเลือกตั้งพรรคที่ได้รับเลือกตั้งจำนวนมากจากผลสำเร็จในการดึงพวก และรวมพวก ก็มักจะประสบปัญหาความขัดแย้งและแตกแยกจากการมีพวกหลายพวกภายในพรรคที่มีผลประโยชน์เฉพาะพวก ถ้าผู้นำ พรรคไม่สามารถประสานประโยชน์ได้แล้ว พรรคเหล่านี้ส่วนใหญ่จะเกิดปัญหาการแยกพวก และทำให้เกิดกระบวนการดึงพวก รวม | |
dc.description.abstract | พวก และแยกพวกขึ้น และกลายเป็นวัฏจักรของระบบพรรคการเมืองไทย ซึ่งกล่าวได้อีกนัยหนึ่งก็คือ "ระบบพวก" นั่นเอง | |
dc.description.abstractalternative | This thesis aims at answering the following questions. What is the Thai I political party ? What are the factors underlining the characteristics of the parties?. Particulary the thesis entails the study of the emergence and the development of Thai political parties, during 1969-1991. The three major parties, Democratic Party, Social Action Party and Chat Thai Party, playing important roles during period are taken as case studies. The main hypothesis of the thesis is that Thai political party is an organization with the most powerful leader in a core group playing a central role. It has . been found that Thai political parties are significantly .composed of the most powerful leader and a group of people closely related to him. Money is the factor of supporting the political activities especially at election times for the parliament. The study shows that Thai political party is formed by a core group of people who are mostly politicians consistently playing an important role in the parliament over a long period of time. These people know one another personally and maintain a kind of specific relationship among them thus forming cliques or factions after dominant party 1 leaders, the cliques or factions combine their effort to fill candidates for election to the parliament each time. The candidates are ex-members of parliament, businessmen and the local influentials. With good cooperation among cliques and factions, the parties will be successful in election, but they face great problems in allocating ministerial posts . among cliques and factions which make demands to party leadership. Failure to strike good bargains, the cliques and factions split from existing parties to form new parties. This is a cyclical happening in the Thai political party system. It can be concluded that Thai political party system is the political cliques or factions or 'phuak’ system. | |
dc.format.extent | 5627599 bytes | |
dc.format.extent | 21363687 bytes | |
dc.format.extent | 48412358 bytes | |
dc.format.extent | 73083344 bytes | |
dc.format.extent | 114708573 bytes | |
dc.format.extent | 27535776 bytes | |
dc.format.extent | 13597742 bytes | |
dc.format.extent | 25364286 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ระบบพรรคการเมืองไทย พ.ศ. 2512-2534 | en |
dc.title.alternative | Thai political party system 1969-1991 | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | es |
dc.degree.discipline | รัฐศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Senee_co_front.pdf | 5.5 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Senee_co_ch1.pdf | 20.86 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Senee_co_ch2.pdf | 47.28 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Senee_co_ch3.pdf | 71.37 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Senee_co_ch4.pdf | 112.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Senee_co_ch5.pdf | 26.89 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Senee_co_ch6.pdf | 13.28 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Senee_co_back.pdf | 24.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.