Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29206
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนเรศร์ จันทน์ขาว
dc.contributor.authorเสมา สอนประสม
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-01T11:17:06Z
dc.date.available2013-03-01T11:17:06Z
dc.date.issued2533
dc.identifier.isbn9745772518
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29206
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en
dc.description.abstractการวิจัยนี้จุดประสงค์ที่จะพัฒนาเทคนิคอย่างง่ายสำหรับการหาปริมาณกำมะถันในลิกไนต์โดยวิธีเรืองรังสีเอกซ์เพื่อที่จะนำไปใช้กับเครื่องวิเคราะห์แบบ EDX ที่ใช้ต้นกำเนิดรังสีแบบไอโซโทปรังสีและหัววัดแบบพรอพอร์ซันนัล ได้ใช้ตัวอย่างลิกไนต์จำนวน 61 ตัวอย่าง จาก เหมืองแม่เมาะ จังหวัดลำปาง โดยนำมาวิเคราะห์ปริมาณกำมะถันและเถ้าโดยวิธีมาตรฐานทางเคมี และทำการวิเคราะห์ส่วนประกอบที่มีปริมาณสูงในเถ้าด้วยเครื่องวิเคราะห์รังสีเอกซ์เรืองแบบ EDX ที่ใช้หัววัดรังสีเจอร์มาเนียมบริสุทธิ์สูง และเครื่องวิเคราะห์รังสีเอกซ์เรืองแบบ WDX ผลการวิจัยชี้ให้เห็นแนวทางในการวิเคราะห์กำมะถัน 2 วิธี จากนั้น จึงใช้เครื่องวิเคราะห์รังสีเอกซ์เรืองแบบ EDX ที่ใช้หัววัดพรอพอร์ซันนัล เพื่อหาปริมาณเหล็กและแคลเซียม รวมทั้งการวัดความเข้มรังสีเอกซ์เรืองของกำมะถันในตัวอย่างทั้งหมด ผลการวิจัยพบว่าปริมาณกำมะถันแปรผันตรงตามปริมาณเหล็กและยังพบว่ามีความสัมพันธ์ดีขึ้น สำหรับตัวอย่างที่มีปริมาณเถ้าน้อยกว่าร้อยละ50 เมื่อทำการทดลองหาปริมาณกำมะถันในตัวอย่างลิกไนต์ใหม่ 10 ตัวอย่างและในถ่านหินมาตรฐาน 2 ตัวอย่าง โดยทำการวิเคราะห์ปริมาณเหล็ก แล้วหาปริมาณกำมะถันจากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างเหล็กกับกำมะถัน พบว่าให้ผลใกล้เคียงกับผลที่ได้จากวิธีมาตรฐานทางเคมีและค่าที่ถูกต้อง นอกจากนี้ยังได้ทำการหาปริมาณกำมะถันของ 10 ตัวอย่างนี้ โดยวิธีเปรียบเทียบความเข้มรังสีเอกซ์เรืองของกำมะถันกับถ่านหินมาตรฐานหรือลิกไนต์ที่ทราบปริมาณกำมะถันแล้ว ซึ่งพบว่าให้ผลเป็นที่น่าพอใจ เมื่อปริมาณเถ้าแคลเซียมและเหล็ก ของตัวอย่างกับตัวอย่างมาตรฐานมีค่าใกล้เคียงกันเท่านั้น
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to develop ล simple XRF technique for determining sulfur content in lignite. The technique is expected to be used in the field with a compact isotope-excited EDXRF spectrometer and a gas-filled proportional counter Sixty-one lignite samples collected from Mae Moh Mine in the northern province of Lampang were chemically analyzed for sulfur and ash contents by the ASTM standard methods. Major ash components were also determined by using an EDXRF spectrometer with a HPGe detector as well as a WOXRF spectrometer. The results indicated that sulfur analysis could be done in two different ways. Then the EDXRF spectrometer with gas-filled proportional counter was used to determine the iron and calcium contents and to measure the sulfur x-ray intensities of all samples. It was found that the sulfur content increased linearly with the iron content. Better relationship could be seen for samples with ash content less than 50% .When the iron contents of ten new lignite samples and two coal standards were determined and transformed to the sulfur contents using the iron-sulfur relationship, the results were found to be comparable with those obtained from the standard chemical method and the recommended values. Sulfur contents of these ten samples were also determined from the sulfur x-ray intensities using the normal relationship between the intensity and concentration. The results were found to be satisfactory only when the ash, calcium and iron contents of the samples were close to that of the standards used for comparison.
dc.format.extent4705116 bytes
dc.format.extent2877460 bytes
dc.format.extent6238845 bytes
dc.format.extent4515027 bytes
dc.format.extent8901383 bytes
dc.format.extent1783383 bytes
dc.format.extent8052191 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการหาปริมาณกำมะถันในถ่านหินลิกไนต์ด้วยเทคนิคการเรืองรังสีเอกซ์en
dc.title.alternativeDetermination of solfur in lignite coal using x-ray fluoresence techniqueen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sama_so_front.pdf4.59 MBAdobe PDFView/Open
Sama_so_ch1.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open
Sama_so_ch2.pdf6.09 MBAdobe PDFView/Open
Sama_so_ch3.pdf4.41 MBAdobe PDFView/Open
Sama_so_ch4.pdf8.69 MBAdobe PDFView/Open
Sama_so_ch5.pdf1.74 MBAdobe PDFView/Open
Sama_so_back.pdf7.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.