Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29398
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรเกียรติ์ เสถียรไทย | |
dc.contributor.author | พัฒนพล เปรมสมิทธ์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-03-07T12:39:28Z | |
dc.date.available | 2013-03-07T12:39:28Z | |
dc.date.issued | 2533 | |
dc.identifier.isbn | 9745783307 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29398 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพันธกรณีตามข้อ 5(2) ของสนธิสัญญาทางไมตรีและความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2509 ว่าประเทศไทยมีพันธกรณีตามที่สหรัฐฯกล่าวอ้างหรือไม่ ตลอดจนศึกษาผลดีผลเสียของการแก้ไขกฎหมายลิขสิทธิ์เปรียบเทียบกับผลประโยชน์และผลกระทบของมาตรการตอบโต้ที่สหรัฐฯใช้เป็นเครื่องมือในการต่อรอง และศึกษาว่าการแก้ไขกฎหมายลิขสิทธิ์ควรมีเนื้อหาและขอบเขตการคุ้มครองเพียงใด จึงจะเหมาะสม เมื่อทำการวิจัยแล้วพบว่า 1) ประเทศไทยมีพันธกรณีตามสนธิสัญญาทางไมตรีแต่ประเทศไทยได้ปฏิบัติตามพันธกรณีดังกล่าวแล้ว โดยผ่านมาตรา 6 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2521 เพราะข้อ 5(2) มีเจตนารมณ์เพียงเพื่อไม่เกิดการเลือกปฏิบัติต่อคนชาติและบริษัทของประเทศคู่ภาคีฝ่ายหนึ่ง เมื่ออยู่ในอาณาเขตของประเทศภาคีอีกฝ่ายหนึ่ง 2) ผลประโยชน์ของสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรมีน้อย เมื่อเทียบกับผลกระทบของการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาตามข้อเรียกร้อง 3) ความเป็นไปได้ในการตอบโต้ตามมาตรา 301 ไม่มากอย่างที่ได้กำหนดไว้ในกฎหมาย แต่ผลกระทบจากการตอบโต้มีมากและ 4) การคุ้มครองคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ภายใต้กฎหมายลิขสิทธิ์จะมีผลกระทบอย่างมหาศาล จากผลการศึกษาดังกล่าวประเทศไทยควรจะ 1) แสวงหาหลักฐานที่สหรัฐฯ ยอมรับได้เพื่อพิสูจน์พันธกรณี 2) เสริมสร้างประสิทธิภาพในการเจรจาการค้าระหว่างประเทศทั้งระดับทวิภาคีและพหุภาคี 3) พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหาเพื่อกำหนดท่าทีในการแก้ไขปัญหา 4) ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตสินค้า 5) ส่งเสริมการขยายและบุกเบิกตลาด ส่งเสริมการลงทุน 6) เร่งรัดพัฒนาเทคโนโลยีภายในประเทศ 7) หากจะแก้ไขกฎหมายลิขสิทธิ์จะต้องเป็นการคุ้มครองที่เหมาะสม | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this thesis is to investigate the background of the Thai.-U.S. copyright issue and to examine whether Thailand violates the treaty obligation. The analysis is based on the pros and cons of the Copyright law amendment as compared to the benefits and impacts of the retaliation used by the U.S.. It also studies the extent to which context and scope of the Copyright Law should be amended appropriately. It is concluded that 1) Thailand has always conformed to its treaty obligation by understanding is obligation through Section 6. 2) The benefits from the G.S.P. have been oversold comparing to the impact of issuing intellectual property protection on Thai economy in the long run. 3) The possibility of being retaliated by Section 301 is small, but its impact is expected to be quite extensive. 4) Computer Software protection under Copyright Law also yields a lot of impact. Therefore according of such studies, Thailand should be 1) find the evidences for proving the obligation to the U.S. ; 2) improve the effectiveness of bilateral and multilateral international negotiation ; 3) criticize and analyze the problem, the determine the gesture for the solution; 4) alleviate the production effectiveness; 5) market expansion, investment promotion; 6) domestic technology development and 7) in order to amend the Copyright Law appropriately. | |
dc.format.extent | 8443881 bytes | |
dc.format.extent | 3238532 bytes | |
dc.format.extent | 56536456 bytes | |
dc.format.extent | 52419797 bytes | |
dc.format.extent | 62669055 bytes | |
dc.format.extent | 22934917 bytes | |
dc.format.extent | 16892248 bytes | |
dc.format.extent | 32055092 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ขอบเขตการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรมตามกฎหมายไทย : กรณีศึกษาปัญหากฎหมายลิขสิทธิ์ไทย-สหรัฐอเมริกา ก่อนที่สหรัฐอเมริกา เข้าเป็นภาคีอนุสัญญากรุงเบอร์น | en |
dc.title.alternative | Scope of protection of literary and artistic work under Thai law : a case study of Thai U.S. copyright law issues before the U.S. became member to the Berne convention | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pattanapol_pr_front.pdf | 8.25 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattanapol_pr_ch1.pdf | 3.16 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattanapol_pr_ch2.pdf | 55.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattanapol_pr_ch3.pdf | 51.19 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattanapol_pr_ch4.pdf | 61.2 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattanapol_pr_ch5.pdf | 22.4 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattanapol_pr_ch6.pdf | 16.5 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattanapol_pr_back.pdf | 31.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.