Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29449
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสรีช์ โพธิแก้ว
dc.contributor.authorภารณี วนะภูติ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-08T11:34:15Z
dc.date.available2013-03-08T11:34:15Z
dc.date.issued2534
dc.identifier.isbn9745795712
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29449
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกลุ่มจิตสัมพันธ์ตามแนวคิดของคาร์ล อาร์ รอเจอร์ส ต่อการเพิ่มขึ้นของค่าความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กลุ่มตัวอย่าง เป็นอาสาสมัครที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 8 คน แยกเป็นผู้หญิง 6 คน ผู้ชาย 2 คน และมีช่วงอายุระหว่าง 21-23 ปี กลุ่มตัวอย่างเข้าร่วมกลุ่มจิตสัมพันธ์แบการพักอยู่ร่วมกันในช่วงสุดสัปดาห์เป็นเวลา 3 วัน รวมจำนวนชั่วโมงที่เข้าร่วมกลุ่มทั้งสิ้น 21 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบวัดไพโร-บี การวิเคราะห์คะแนนที่ได้ กระทำโดยการทดสอบความแตกต่างของคะแนนในระยะก่อนและหลังการทดลอง ด้วยการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า ค่าความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลมีการเพิ่มขึ้นในระยะหลังการทดลองอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 รวม 4 ด้านคือ ด้านการมีส่วนร่วมที่แสดงออกต่อผู้อื่น ด้านการมี ส่วนร่วมที่ต้องการให้ผู้อื่นแสดงออกต่อตนเอง ด้านการผูกพันที่แสดงออกต่อผู้อื่น และด้านการผูกพันที่ต้องการให้ผู้อื่นแสดงออกต่อตนเอง ส่วนด้านการควบคุมที่แสดงออกต่อผู้อื่น และด้านการควบคุม ที่ต้องการให้ผู้อื่นแสดงออกต่อตนเอง ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of an encounter group according to Carl R. Rogers's theory on increasing interpersonal relations. The sample group included 8 volunteers who were interested in the program. These volunteers, 6 females and 2 males, age between 21-23 years, participated in an encounter group for 21 hours within 3 days. The experiment took place in a residential setting. The instrument used in this study was the FIRO-B. The pretest-posttest experimental design was used and the t-test was utilized for data analysis. The results indicate that 4 scales of the FIRO-B interpersonal relations scores showed a significant increase atthe .01 level. They were the scales on expressed inclusion, wanted inclusion, expressed affection and wanted affection. There was no significant decrease in the scale of expressed control and wanted control.
dc.format.extent4834056 bytes
dc.format.extent37535546 bytes
dc.format.extent17025924 bytes
dc.format.extent1967169 bytes
dc.format.extent7496611 bytes
dc.format.extent2010742 bytes
dc.format.extent7880860 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลของกลุ่มจิตสัมพันธ์ต่อการเพิ่มขึ้นของค่าความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในแบบวัดไฟโร-บีen
dc.title.alternativeEffects of an encounter group on increasing interpersonal relation scores on the FIRO-B testen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาสังคมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paranee_va_front.pdf4.72 MBAdobe PDFView/Open
Paranee_va_ch1.pdf36.66 MBAdobe PDFView/Open
Paranee_va_ch2.pdf16.63 MBAdobe PDFView/Open
Paranee_va_ch3.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open
Paranee_va_ch4.pdf7.32 MBAdobe PDFView/Open
Paranee_va_ch5.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open
Paranee_va_back.pdf7.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.