Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29483
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระชัย ปูรณโชติ
dc.contributor.authorภัชญา โม้สา
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-09T09:24:20Z
dc.date.available2013-03-09T09:24:20Z
dc.date.issued2539
dc.identifier.isbn9746341464
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29483
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายุเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ระหว่างนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่หนึ่ง จำนวน 3 กลุ่มที่ได้รับการสอนแบบสืบสอบที่ระดับของการสืบสอบต่างกัน ในด้านความรู้ความจำ ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ การนำความรู้และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ และทักษะปฏิบัติ และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนแต่ละกลุ่มที่มีต่อการสอนแบบสืบสอบ ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่หนึ่ง ปีการศึกษา 2538 โรงเรียนหนองหงส์พิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย์จำนวน 3 ห้องเรียนซึ่งกำหนดให้ได้รับการสอนแบบสืบสอบ ที่มีระดับการสืบสอบต่างกันคือสืบสอบระดับที่ 1 2 และ 3 ตามลำดับ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ด้านพุทธพิสัย แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนด้านทักษะปฏิบัติและแบบสำรวจความคิดเห็นที่มีต่อการสอนแบบสืบสอบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยคำนวณค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวนทางเดียวและค่าเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ด้านพุทธพิสัยในด้านต่อไปนี้คือ ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ และการนำความรู้และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ ของนักเรียนทั้งสามกลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ด้านพุทธพิสัยรวมทุกด้านของนักเรียนทั้งสามกลุ่มทดลองไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. นักเรียนในกลุ่มทดลองที่ 1 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ในด้านทักษะปฏิบัติสูงกว่านักเรียนในกลุ่มทดลองที่ 2 และ 3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในขณะที่นักเรียนในกลุ่มทดลองที่ 2 และ 3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ด้านทักษะปฏิบัติ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4. นักเรียนในกลุ่มทดลองที่ 1 มีความคิดเห็นว่าเห็นด้วยกับการสอนแบบสืบสอบในระดับปานกลาง ในขณะที่นักเรียนในกลุ่มทดลองที่ 2 และ 3 เห็นด้วยกับการสอนแบบสืบสอบในระดับมาก
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to compare the science learning achievement between three groups of mathayom suksa one students taught by using inquiry method with different levels of inquiry in the following aspects : knowledge, comprehension, science process skills, application of scientific knowledge and methods, and manipulative skills , and to study students' opinions concerning the inquiry teaching method. The samples were three classrooms of mathayom suksa one students in the academic year 1995 of Nonghongpittayakom School in Changwad Burirum. They were divided into three groups taught by using the first, second, and third inquiry levels of the inquiry teaching method, respectively. The research instruments were the science achievement test in cognitive domain, the science achievement test in manipulative skills, and the questionnaire concerning the inquiry teaching method. The collected data were analyzed by using arithmetic mean, standard deviation, one way analysis of variance and scheffe's test. The results of this research were as follows: 1. The science learning achievement in cognitive domain of students in the three groups in the following aspects were not significantly different at the .05 level: knowledge, comprehension, science process skills, ''and the application of scientific knowledge and methods. 2. The science learning achievement in cognitive domain as a whole of the three groups of students were not significantly different at the .05 level. 3. The science learning achievement in manipulative skills of students in the first group were significantly higher than the other two groups at the .05 level while the science learning achievement in the manipulative skills of students in the second and third groups were not significantly different at the .05 level. 4. Students in the first group agreed with the inquiry teaching method at the moderate level while students in the other two groups agreed with the inquiry teaching method at the high level.
dc.format.extent6040117 bytes
dc.format.extent4115442 bytes
dc.format.extent17897093 bytes
dc.format.extent7049964 bytes
dc.format.extent8719357 bytes
dc.format.extent4107876 bytes
dc.format.extent47306862 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสาตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบสืบสอบ ที่มีระดับการสืบสอบต่างกันen
dc.title.alternativeA comparison of science learning achievement of mathayom suksa one students between the groups taught by using inquiry method with different levels of inquiryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patchaya_mh_front.pdf5.9 MBAdobe PDFView/Open
Patchaya_mh_ch1.pdf4.02 MBAdobe PDFView/Open
Patchaya_mh_ch2.pdf17.48 MBAdobe PDFView/Open
Patchaya_mh_ch3.pdf6.88 MBAdobe PDFView/Open
Patchaya_mh_ch4.pdf8.51 MBAdobe PDFView/Open
Patchaya_mh_ch5.pdf4.01 MBAdobe PDFView/Open
Patchaya_mh_back.pdf46.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.