Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29628
Title: ประสิทธิผลของสื่อเสียงตามสายที่มีต่อ ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารของประชาชน ในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี
Other Titles: Effectiveness of local announcement media towards knowledge, attitude, and practice on food sanitation of the people in Chon Buri municipal area
Authors: มุกดา แก้วมุนีโชค
Advisors: อัญชลี ลีสวรรค์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Issue Date: 2532
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของสื่อเสียงตามสายที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนด้านการสุขาภิบาลอาหารของประชาชน โดยศึกษาเฉพาะกรณีประชาชนที่ อาศัยอยู่ในเขต เทศบาลเมืองชลบุรี จำนวน 200 คน ผลการวิจัยพบว่า หลังการได้รับฟังรายการความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารทางสื่อเสียงตาม สายแล้ว กลุ่มตัวอย่างมีการเพิ่มความรู้ เปลี่ยนแปลงทัศนคติ- และการปฏิบัติตนไปในทางที่ถูกสุขลักษณะ ยิ่งขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อายุและการศึกษามีความสัมพันธ์กับระดับความรู้และการปฏิบัติตนด้านการสุขาภิบาลอาหาร แต่ฐานะทางเศรษฐกิจและจำนวนสมาชิกในครอบครัวไม่มีความสัมพันธ์กับระดับความรู้ และ การปฏิบัติตนด้านการสุขาภิบาลอาหาร นอกจากนี้ยังพบว่าอายุการศึกษา ฐานะทาง เศรษฐกิจ และจำนวน สมาชิกในครอบครัวไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติด้านการสุขาภิบาลอาหาร อายุ การศึกษา และฐานะทาง เศรษฐกิจ ไม่มีความสัมพันธ์กับระดับการเปิดรับข่าวสารทางสื่อเสียงตามสาย ระดับความรู้ มีความสัมพันธ์กับทัศนคติ และการปฏิบัติตนด้านการสุขาภิบาลอาหารอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Other Abstract: The Objective ๐£ this research is to study the effectiveness of local announcement media towards knowledge, attitude, and practice on food sanitation of the people in chonburi province. The people whose ages are over 15 years old are randomly selected for 200 samples. It is found that after exposure to knowledge on food sanitation from local anouncement media, there are significant changes in knowledge, attitude, and practice on food sanitation. Age and education are significantly related with knowledge and practice. However, economic status and family size are not significantly related to knowledge or practice. Age, education, income, and family size are also not significantly related to attitude. Age, education, and economic status are not significantly related with level of local announcement media exposure. Knowledge is significantly related with attitude and practice on food sanitation.
Description: วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532
Degree Name: นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การประชาสัมพันธ์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29628
ISBN: 9745699829
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mukda_ka_front.pdf16.85 MBAdobe PDFView/Open
Mukda_ka_ch1.pdf17.91 MBAdobe PDFView/Open
Mukda_ka_ch2.pdf24.23 MBAdobe PDFView/Open
Mukda_ka_ch3.pdf7.5 MBAdobe PDFView/Open
Mukda_ka_ch4.pdf11.73 MBAdobe PDFView/Open
Mukda_ka_ch5.pdf10.73 MBAdobe PDFView/Open
Mukda_ka_back.pdf89.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.