Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29651
Title: Selective hydrogenation of acetylene over Ni-Zn-P catalysts supported on polyureihane foam
Other Titles: ปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันแบบเลือกเกิดของอะเซทิลีนบนตัวเร่งปฏิกิริยา นิเกิล-สังกะสี-ฟอสฟอรัสบนตัวรองรับพอลิยูรีเทนโฟม
Authors: Sara Ahmadi Pirshahid
Advisors: Joongjai Panpranot
Yuttanant Boonyongmaneerat
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Joongjai.P@Chula.ac.th
yuttanant.b@chula.ac.th
Subjects: Nickel catalysts
Hydrogenation
Acetylene
Zinc
Phosphorus
Polyurethanes
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: In the present work, cheap metals were studied as alternative catalysts in the selective hydrogenation of acetylene. The Ni-Zn-P catalysts supported by polyurethane foam were prepared by electroless deposition method with various zinc salt contents in the deposition bath (6-24 g/l ZnSO4.7H2O). The amounts of Ni and P in the bath were fixed at 42 g/l NiSO4.6H2O and 24 g/l NaH2PO2, respectively. From the deposition rate, compression test, SEM and EDX results, increasing amount of Zn in the bath resulted in lower rate of metal deposition. The catalyst prepared with amount of Zn 18 g/l showed the best dispersion on PU foam as well as the highest Zn/Ni ratio and the highest amount of Zn obtained in the final catalysts at 27.3 wt% with Ni and P 65.2 and 7.5 wt%, respectively. Such catalyst also exhibited the best catalyst performances in terms of acetylene conversion and ethylene selectivity. Further improvement of the Ni-Zn-P catalysts can be obtained using the Al2O3 supports in the order: Ni-Zn-P/-Al2O3 pellet > Ni-Zn-P/-Al2O3 powder > Ni-Zn- P/PU foam (Zn 18 g/l).
Other Abstract: งานวิจัยนี้ศึกษาการใช้โลหะที่มีราคาถูกเป็ นตัวเร่งปฏิกิริยาในกระบวนการไฮโดรจิเนชัน แบบเลือกเกิดของอะเซทิลีน โดยเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา นิเกิล -สังกะสี -ฟอสฟอรัส โดยวิธีการชุบ แบบไม่ใช้ไฟฟ้ าบนตัวรองรับพอลิยูรีเทนโฟมที่ปริมาณสังกะสีในน้า ยาชุบต่างกัน (ZnSO4.7H2O 6-24 กรัมต่อลิตร) โดยให้ปริมาณของนิเกิลและฟอสฟอรัสคงที่ NiSO4.6H2O 42 กรัมต่อลิตร และ NaH2PO2 24 กรัมต่อลิตร ผลการวิเคราะห์อัตราการพอกพูนของโลหะ การทดสอบแรงกด SEM และ EDX ชี้ให้เห็นว่าปริมาณสังกะสีที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้ปริมาณและอัตราการพอกพูนของ โลหะมีค่าลดลง อย่างไรก็ตามตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมโดยมีปริมาณสังกะสี 18 กรัมต่อลิตรมีการ กระจายตัวของโลหะที่ดีที่สุดบนผิวของพอลิยูรีเทนโฟมและมีอัตราส่วนของสังกะสีต่อนิเกิลมาก ที่สุดอีกด้วย โดยปริมาณสังกะสีสูงที่สุดของตัวเร่งปฏิกิริยามีค่าร้อยละ 17 โดยน้า หนัก โดยมี ปริมาณนิเกิลและฟอสฟอรัสร้อยละ 65.2 และ 7.5 โดยน้า หนักตามลา ดับ เมื่อทา การทดสอบใน ปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันแบบเลือกเกิดของอะเซทิลีนพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมโดยมีปริมาณ สังกะสี 18 กรัมต่อลิตร ให้ค่าการเปลี่ยนของอะเซทิลีนและค่าการเลือกเกิดเป็ นเอทิลีนสูงที่สุด อย่างไรก็ตาม ประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยานิเกิล -สังกะสี-ฟอสฟอรัสที่เตรียมโดยวิธีการพอก พูนโดยไม่ใช้ไฟฟ้ าเพิ่มขึ้นเมื่อใช้ ตัวรองรับเป็ นอะลูมินา แบบเม็ดและอะลูมินา แบบผง ตามลา ดับ ดังนี้ นิเกิล-สังกะสี-ฟอสฟอรัส/อะลูมินา แบบเม็ด > นิเกิล-สังกะสี-ฟอสฟอรัส/อะลูมินา แบบผง > นิเกิล-สังกะสี-ฟอสฟอรัส/พอลิยูรีเทนโฟม โดยคาดว่าเป็นผลของพื้นที่ผิวที่มากขึ้น
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2011
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29651
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1283
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2011.1283
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sara_ah.pdf4.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.