Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29705
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมานพ พงศทัต
dc.contributor.authorยงยุทธ ดิลกตระการกิจ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-12T18:36:58Z
dc.date.available2013-03-12T18:36:58Z
dc.date.issued2527
dc.identifier.isbn9745635553
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29705
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractปัจจุบันกรุงเทพมหานครได้ขยายตัวออกไปอย่างไม่มีจุดหมาย ที่อยู่อาศัยในช่วง ระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 ถึง 2524 ได้มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นทุกปี โดยที่ในแต่ละปีมีปริมาณที่เพิ่มขึ้นในอัตรา เฉลี่ย 23,000 ครัวเรือน และนับวันจะมีจำนวนมากขึ้น อย่างไรก็ตามการเพิ่มขึ้นนี้ เป็นการเพิ่มขึ้นโดยไม่มีการควบคุม จึงก่อให้เกิดปัญหาทางผังเมืองปัญหาสาธารณูปการ ปัญหาการจราจร ซึ่งมีส่วนที่จะทำให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรของประเทศชาติไปปีละไม่ใช่น้อย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์ให้ทราบถึงปริมาณความต้องการที่อยู่อาศัย ในอนาคต แนวโน้มและทิศทางการขยายตัวของผู้มีรายได้ปานกลางในเขตกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2525 ถึงปี พ.ศ. 2528 เพื่อที่จะสามารถคาดการณ์และวางแผนการณ์ตลอดจนจัดสาธารณูปการ สาธารณูปโภค ให้สอดคล้องกับการขยายตัวที่จะ เกิดขึ้น ซึ่งเชื่อว่าสามารถ นำมาเป็นข้อมูลในการศึกษาและลดปัญหาต่างๆ ดังกล่าว การศึกษาได้พยายามหาแบบจำลอง ที่เป็นมาตรฐานเพื่อการคาดการณ์ในอนาคตต่อไป และได้อาศัยทฤษฎี เทรดโฮลด์และสถิติ วิเคราะห์ด้วยหลักสมการถดถอยพหุคูณโดยศึกษาถึงปริมาณการเพิ่มขึ้นของที่อยู่อาศัย ปริมาณการก่อสร้างถนน และรายได้ของประชากรในแต่ละปีทั้งอดีตและปัจจุบันมาเป็นข้อมูลในการคาดคะเนดังกล่าว ผลการวิเคราะห์ปรากฏว่า ปริมาณการเพิ่มขึ้นที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้ปานกลาง ในเขตกรุงเทพมหานครในอนาคตจะเพิ่มขึ้นโดย เฉลี่ย 40,000 ครัว เรือนต่อปี ในช่วงปี พ.ศ. 2525 ถึง 2528 โดยมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นในเขตชั้นกลางรอบนอกมากที่สุด และเป็นรูปแบบ ที่อยู่อาศัยในแนวรายมากกว่าประเภทอื่น ทิศทางการขยายตัวจะไปทางทิศตะวันออกเสีย เป็น ส่วนใหญ่ได้แก่ เขตบางกะปิเขตพระโขนง และ เขตบางเขน เป็นต้น และพบว่าการขยายตัวของที่อยู่อาศัยได้รับอิทธิพลจากปริมาณถนนร้อยละ 44 และปริมาณรายได้ของประชากรร้อยละ 46 การขยายตัวในอัตราที่สูง เช่นนี้ ควรมีการวางแผนงานล่วงหน้าเสริมสร้าง สาธารณูปการให้เพียงพอตามความต้องการในอนาคต อันจะเป็นการลดปัญหาที่จะเกิดขึ้นต่อไป
dc.description.abstractalternativeAt present, Bangkok metropolitan has been expanding randomly. The housing has increased tremendously during the last ten years. From 1972 to 1981, the housing in Bangkok metropolitan has been increased by 23,000 households annually, and growing at a steady rate of about 7.8 percent per year. It has been suffering from the inadequacy of water facilities and traffic congestion which ultimately lead to waste nation resource and social failure of the community. This thesis concentrated on the demand for future housing, growth trend and directions of middle income housing in Bangkok metropolitan from 1982 to 1985, to present results of housing growth study to analyse future requirement and to make a sufficient information in the form of statistic model by using two variables are the number of increased street area annually and the number of population income annually. The method of analysis draws on Threshold theory and multiple regression analysis. The result of the analysis shows that middle income housing growth in Bangkok metropolitan in the future will increase on the average of 40,000 households annually during 1982 to 1985. The expansion spearheads mainly to the outer-middle ring of Bangkok metropolitan area, and will be a low-rise housing. The direction of growth spearheads mainly to east, southeast and northeast of Bangkok metropolitan such as Bangkapi district, Prakanong district and Bangkhen district. The number of increase street area was the influency factor at a steady rate of about 44 percent and the influency factor from population income at a rate of about 46 percent. Consequently, it's necessary for housing growth prediction to formulation of a effective planning for future development.
dc.format.extent15331109 bytes
dc.format.extent10112798 bytes
dc.format.extent18113197 bytes
dc.format.extent42028646 bytes
dc.format.extent23062774 bytes
dc.format.extent84062781 bytes
dc.format.extent48529535 bytes
dc.format.extent65101448 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleแนวโน้มและทิศทางการขยายตัวที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้ปานกลาง ในเขตกรุงเทพมหานคร (2525-2528)en
dc.title.alternativeGrowth trend and direction of middle income housing in Bangkok metropolis (1982-1985)en
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yongyoot_di_front.pdf14.97 MBAdobe PDFView/Open
Yongyoot_di_ch1.pdf9.88 MBAdobe PDFView/Open
Yongyoot_di_ch2.pdf17.69 MBAdobe PDFView/Open
Yongyoot_di_ch3.pdf41.04 MBAdobe PDFView/Open
Yongyoot_di_ch4.pdf22.52 MBAdobe PDFView/Open
Yongyoot_di_ch5.pdf82.09 MBAdobe PDFView/Open
Yongyoot_di_ch6.pdf47.39 MBAdobe PDFView/Open
Yongyoot_di_back.pdf63.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.