Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29803
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วีระพงษ์ บุญโญภาส | |
dc.contributor.advisor | ชาญวิทย์ ยอดมณี | |
dc.contributor.author | มนต์ชัย วัชรบุตร | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-03-15T05:41:54Z | |
dc.date.available | 2013-03-15T05:41:54Z | |
dc.date.issued | 2534 | |
dc.identifier.isbn | 9745794236 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29803 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534 | en |
dc.description.abstract | ในปัจจุบันจากสถิติผู้กระทำผิดอาญามีแนวโน้มว่า ผู้กระทำความผิดซ้ำมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นมาก โดยเฉพาะการกระทำผิดซ้ำตั้งแต่สามครั้งขึ้นไป ซึ่งกฎหมายอาจถือว่าเป็นผู้กระทำความผิดติดนิสัย การใช้มาตรการเพิ่มโทษหรือใช้วิธีการลงโทษที่รุนแรงเพียงประการเดียว ย่อมไม่สามารถแก้ไขปัญหาการกระทำผิดของอาชญากรประเภทนี้ได้ ประมวลกฎหมายอาญามีบทบัญญัติที่ใช้บังคับแก่ผู้กระทำผิดติดนิสัยไว้ โดยเฉพาะคือ มาตรา 41 ในเรื่องการกักกัน ซึ่งเป็นมาตรการหนึ่งของวิธีการเพื่อความปลอดภัยที่ศาลอาจใช้ควบคู่กันไปกับการลงโทษ และอาจถือได้ว่าเป็นมาตรการเสริมในการจัดการกับอาชญากรที่กระทำผิดติดนิสัยโดยเฉพาะ แต่กลับปรากฏว่าทั้งที่ประเทศไทยมีบทบัญญัติในเรื่องการกักกันไว้แล้วก็ตาม แต่มิได้มีการนำมาบังคับใช้ให้เกิดผลอย่างจริงจังสมดังเจตนารมณ์ของกฎหมายที่มุ่งให้การกักกันเป็นมาตรการที่จะคุ้มครองป้องกันสังคมให้ปลอดภัยและแก้โขปรับปรุงผู้กระทำผิดติดนิสัยแต่อย่างใด วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะทำการศึกษาวิเคราะห์ถึงปัญหาการบังคับใช้วิธีการเพื่อความปลอดภัยในเรื่องการกักกันว่า มีปัญหาและอุปสรรคตลอดจนมีข้อดี ข้อเสีย อย่างไร สมควรให้คงมีอยู่หรือแก้โขปรับปรุงอย่างไร ทั้งนี้โดยศึกษาแนวความคิด วิวัฒนาการจากกฎหมายของต่างประเทศ และของประเทศไทย ผลการศึกษาวิจัยพบว่า การกักกันเป็นมาตรการที่สำคัญยิ่งในการจัดการกับผู้กระทำผิดติดนิสัย ในแง่การป้องกันสังคมและตัดโอกาสมิให้ผู้กระทำผิดติดนิสัย มีโอกาสกระทำผิดในสังคมได้อีก นอกจากนั้น ยังมีผลในการอบรมผู้กระทำผิดให้กลับตนเป็นคนดีอีกด้วย การลงโทษที่หนักขึ้น หรือการเพิ่มโทษแต่เพียงประการเดียว มิใช่วิธีที่จะใช้กับผู้กระทำผิดติดนิสัยได้ ฉะนั้นหากได้มีการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ทั้งในด้านโครงสร้างกฎหมายและด้านองค์กรผู้บังคับใช้กฎหมายให้เหมาะสมแล้ว อาจทำให้สามารถนำวิธีการเพื่อความปลอดภัยในเรื่องการกักกันมาใช้เป็นมาตรการสำคัญในการคุ้มครองสังคมให้ปลอดภัยจากผู้กระทำผิดติดนิสัยได้เป็นอย่างดี และสมดังเจตนารมณ์ของกฎหมาย | |
dc.description.abstractalternative | At present, the criminal statistics has markedly shown that the trend of recidivists, particularly those who committed the crime three times or more who may be held a habitual criminal has been rapidly increased. Severe punishment or added sentence alone cannot hinder this type of criminal from committing further crime. In dealing with a habitual criminal, relegation and added sentence are stipulated in the Thai Penal Code but the application of relegation are rarely used. Relegation in Thailand, on the other hands, has long been disregarded and has no role to reduce crime committed by an habitual criminal. This study aims directly at studying and analyzing problems of application of relegation under the Thai Penal Code, strong and weak points of relegation including the question of whether relegation should be rescinded or substitute by other forms of punishment will be discussed in this thesis. Studies of background, evolution and legal principles of relegation of foreign countries, especially those in Europe and America, will be provided. This research has found that while added sentence is not adequate to solve the problem of habitual criminal, relegation has more significant role to cope effectively with this matter if it is rightly implemented by criminal justice authorities-Police, Public prosecutor, Court or Correction. It is also suggested in this thesis that some changes of substantive law and implications of law enforcement be made in accordance with the purpose and object of the Thai Penal Code. | |
dc.format.extent | 4940176 bytes | |
dc.format.extent | 6351505 bytes | |
dc.format.extent | 25388864 bytes | |
dc.format.extent | 14008937 bytes | |
dc.format.extent | 18896152 bytes | |
dc.format.extent | 8064782 bytes | |
dc.format.extent | 3918513 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ปัญหาการบังคับใช้วิธีการเพื่อความปลอดภัยในเรื่องการกักกัน ตามประมวลกฎหมายอาญา | en |
dc.title.alternative | Problems of Application of Relegation Under the Thai Penal Code | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Monchai_wa_front.pdf | 4.82 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Monchai_wa_ch1.pdf | 6.2 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Monchai_wa_ch2.pdf | 24.79 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Monchai_wa_ch3.pdf | 13.68 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Monchai_wa_ch4.pdf | 18.45 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Monchai_wa_ch5.pdf | 7.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Monchai_wa_back.pdf | 3.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.