Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29858
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริชัย ศิริกายะ | - |
dc.contributor.author | ปรีชา วงศาสุลักษณ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-03-16T08:22:09Z | - |
dc.date.available | 2013-03-16T08:22:09Z | - |
dc.date.issued | 2536 | - |
dc.identifier.isbn | 9745834491 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29858 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ วัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบว่า สื่อมวลชนประเภทต่างๆ ในปัจจุบันมีบทบาทที่สำคัญต่อการเสริมคุณค่าและแพร่กระจายข่าวสาร ให้เกิดการบริโภคพระเครื่องและพระบูชาอย่างกว้างขวาง โดยการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ แนวคิดและทฤษฎีที่นำมาเป็นกรอบในการวิเคราะห์ได้แก่ ตรรกวิทยาบริโภคของ โบดริยาร์ค แนวคิดวิศวกรรมคุณค่า แนวคิดสื่อมวลชนของแมคูลฮัน แนวคิดทฤษฎีวัฒนธรรมของผู้บริโภค ในยุคหลังสมัยใหม่ โดยศึกษาจาก พระเบญจภาคี เหรียญ 5 คณาจารย์ และพระบูชา รวม 14 องค์ ซึ่งผลการศึกษามีดังนี้ 1. พระเครื่อง พระบูชา เป็นสื่อศักดิ์สิทธิ์ที่ตัวสื่อเป็นสาร สร้างความต้องการและความอยากได้ ให้แก่ผู้บริโภค การบริโภคพระเครื่อง พระบูชา มีอยู่ด้วยกัน 4 ลักษณะคือ บริโภคเพื่อการใช้สอย บริโภคในลักษณะเพื่อการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐศาสตร์ บริโภคทางสัญลักษณ์ และทางสัญญะ 2. พระเครื่อง พระบูชา ถูกนำมาผลิตซ้ำ เพื่อการทดแทนในสังคมปัจจุบัน ในขณะเดียวกันสื่อมวลชนเป็นตัวกระตุ้น เย้ายวน ให้เกิดความต้องการมีไว้ในครอบครอง ทำให้เห็นว่าพระเครื่อง พระบูชา เป็นการบริโภคทางสัญญะหรือภาพพจน์ ซึ่งเหนือกว่าคุณค่าของความเป็นจริง | - |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study that mass media nowsaday which their roles are growing up to be a significant and a great information carrier for the needs of the people invalue promotion the Amuletic Buddha Image and the Buddha Image in wide spread. This qualitative approach has based on Baudrillard’s consumtion logic concept and also the theory of value engineering and consumer culture in the Postmodern era. This will specific case study on Prabenjapakee, Rean 5 Khanajarn and the Buddha image about 14 statues which the result shown as following. 1. The Amuletic Buddha image and the Buddha image are the sacred media which is the message by itself. Its can create needs and desiration to the consumer. Normally the people will consume by four different ways 1.1 use value 1.2 exchange value 1.3 Symbolic exchange 1.4 Sign value 2. The result also shown that the Amuletic Buddha image and the Buddha image are reproduced to compensate in this commoners world. Mass Media serves this need by pushing up and seducing the belief system and people who consume those sacred things to have more and more this confirm that consuming of those sacred objects is the way that people only consume sign and image by mass media who create their own value. | - |
dc.format.extent | 4117480 bytes | - |
dc.format.extent | 4776119 bytes | - |
dc.format.extent | 7967975 bytes | - |
dc.format.extent | 6958087 bytes | - |
dc.format.extent | 38000043 bytes | - |
dc.format.extent | 28381313 bytes | - |
dc.format.extent | 3610509 bytes | - |
dc.format.extent | 21327988 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | บทบาทของสื่อมวลชน ที่เสริมสร้างคุณค่าให้กับพระเครื่องและพระบูชา | en |
dc.title.alternative | The roles of mass media in value promotion the amuletic buddha image and the buddha image | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การสื่อสารมวลชน | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Preecha_wo_front.pdf | 4.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Preecha_wo_ch1.pdf | 4.66 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Preecha_wo_ch2.pdf | 7.78 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Preecha_wo_ch3.pdf | 6.8 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Preecha_wo_ch4.pdf | 37.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Preecha_wo_ch5.pdf | 27.72 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Preecha_wo_ch6.pdf | 3.53 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Preecha_wo_back.pdf | 20.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.