Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29893
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์-
dc.contributor.authorปรียนุช รุ่งเรืองสรการ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-03-17T14:42:43Z-
dc.date.available2013-03-17T14:42:43Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.isbn9745763683-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29893-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงพัฒนาการของความสามารถในการแยกความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ปรากฏให้เห็นและสิ่งที่เป็นจริงในเด็กอายุ 3-5 ขวบ ผลการวิจัยพบว่า 1. เด็กอายุ 3 ปี เริ่มแสดงความสามารถในการแยกความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ปรากฏให้เห็นและสิ่งที่เป็นจริงแล้ว 2. เด็กที่มีอายุมากกว่า มีความสามารถในการแยกความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ปรากฏให้เห็นและสิ่งที่เป็นจริงมากกว่าเด็กที่มีอายุน้อยกว่า อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.001 โดยที่เด็กอายุ 3 ปี ความสามารถจัดอยู่ในระยะแรกเริ่ม เด็กอายุ 4 ปี ความสามารถจัดอยู่ในระยะหัวเลี้ยวหัวต่อ และเด็กอายุ 5 ปี ความสามารถจัดอยู่ในระยะที่มั่นคง 3. เด็กเพศชายและเพศหญิง มีความสามารถในการแยกความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ปรากฏให้เห็นและสิ่งที่เป็นจริงไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 4. เด็กจะตอบคำถามเกี่ยวกับเอกลักษณ์และคุณสมบัติของวัตถุ โดยยึดสิ่งที่เป็นจริงเป็นหลักมากกว่าตอบโดยยึดสิ่งที่ปรากฏให้เห็นเป็นหลัก อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis was to study the development of the Appearance-Reality Distinction in Preschool Children. The results of the study are as follow: 1. Some ability to make the appearance-reality distinction was present as early as age three. 2. The older children performed the appearance-reality distinction tasks significantly better than younger ones (p < 0.001). The ability of 3-year olds was in the beginning stage, of 4-year olds was in transitional stage and that of 5-year olds was in stable stage. 3. No sex difference in children’s ability to make the appearance-reality distinction was found (p < 0.05). 4. When preschools answered the questions about property and identity, they reported reality when appearance was requested (intellectual realism) as well as when reality was requested significantly more than the voice vesa (phenomenism) (P < 0.05).-
dc.format.extent4220453 bytes-
dc.format.extent20163300 bytes-
dc.format.extent6867206 bytes-
dc.format.extent4521756 bytes-
dc.format.extent4820221 bytes-
dc.format.extent1846640 bytes-
dc.format.extent11962058 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleพัฒนาการของการแยกความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ปรากฏให้เห็น และสิ่งที่เป็นจริงในเด็กวัยก่อนเรียนen
dc.title.alternativeDevelopment of the appearance-reality distinction in preschool childrenen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Preeyanuch_ru_front.pdf4.12 MBAdobe PDFView/Open
Preeyanuch_ru_ch1.pdf19.69 MBAdobe PDFView/Open
Preeyanuch_ru_ch2.pdf6.71 MBAdobe PDFView/Open
Preeyanuch_ru_ch3.pdf4.42 MBAdobe PDFView/Open
Preeyanuch_ru_ch4.pdf4.71 MBAdobe PDFView/Open
Preeyanuch_ru_ch5.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open
Preeyanuch_ru_back.pdf11.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.