Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29899
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาพ วาดเขียน-
dc.contributor.authorทัศนีย์ เหมะธุลิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-03-17T14:56:53Z-
dc.date.available2013-03-17T14:56:53Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745784796-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29899-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อสร้างและพัฒนาแบบวัดคุณธรรมความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ผู้วิจัยสร้างแบบวัดเป็น 3 ฉบับ ได้แก่ 1) แบบประเมินตนเอง เป็นแบบรายการประมาณค่า (Rating Scale) พฤติกรรม 32 ข้อ เพื่อให้นักเรียนพิจารณาว่า ตนเองได้ปฏิบัติอย่างไรเกี่ยวกับความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละในระยะเวลาที่ผ่านมา 2) แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน เป็นแบบรายการประมาณค่า (Rating Scale) พฤติกรรม 32 ข้อ ให้ครูพิจารณาว่า นักเรียนได้ปฏิบัติอย่างไรในเรื่องความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละ 3) แบบวัดสถานการณ์บังคับ เป็นแบบวัดที่มีสถานการณ์สมมุติให้ มีคำตอบข้อละ 4 คำตอบ จำนวน 32 สถานการณ์ นักเรียนต้องเลือกคำตอบที่ตรง หรือใกล้เคียงกับความรู้สึกนึกคิดของตัวเองมากที่สุดเพียงหนึ่งคำตอบ เวลาที่ใช้ตอบ แบบวัดแต่ละฉบับเท่ากับ 45 นาที กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2533 ในจังหวัดสกลนคร จำนวน 1,128 คน และครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 31 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. แบบประเมินตนเอง ประมาณค่าความเสี่ยงจากสูตรการหาสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบัค ได้ค่าความเสี่ยงเท่ากับ .9036 มีอำนาจจำแนกโดยการทดสอบที ค่าสถิติที่อยู่ในช่วง 4.16-16.27 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จำนวน 31 ข้อ ข้อกระทงที่ 25 คะแนนเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ แบบประเมินตนเองมีความตรงตามภาวะสันนิษฐานโดยการวิเคราะห์ตัวประกอบด้วยวิธี Principal component และหมุนแกนด้วยวิธี Varimax 2. แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน ความตรงเชิงจำแนกโดยการใช้สถิติที่ทดสอบคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยทางสถิติทุกข้อค่าทีอยู่ในช่วง 1.98-6.54 3. แบบวัดสถานการณ์บังคับ ประมาณค่าความเที่ยงจากสูตรการหาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบัค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .657 แบบวัดมีอำนาจจำแนกโดยการทดสอบทีค่าสถิติอยู่ในช่วง 2.26-13.13 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกข้อ ยกเว้นข้อ 17 (p<.025)-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop the scales to measure altruism for Prathom Suksa Six Students. The three forms of scales are 1) the self-report: a rating scale of 32 behaviors which students were asked to review themselves about their altruism in the past, 2) the students behavioral assessment: a rating scale of 32 behaviors which teachers were asked to review the students about their altruism, 3) the limited situation: a multiple choice contains 32 descriptive realistic situations with four responses each. Students were asked to decide what they would probably do if they were in the situations then choose only one answer. Time to complete each scale is 45 minutes. 1,128 Prathom Suksa Six Students and 31 teachers in Sakolnakhorn Province were used as the subjects. The results 1. The self-report: the reliability index by Cronbach's alpha coefficient is .9036. The discrimination index for 31 items, tested by the t-test, range from 4.09-16.83 and all were statistically significant at the level of .01. The mean scores of item 25 is not statistically significant. The construct validity was found by factor analysis with principal component model and rotation with varimax model. 2. The students behavioral assessment : All items discriminated statistically significant between the high and low group mean scores, the t-value is 4.09-16.83, range. 3. The limited situation : the reliability index by Cronbach's alpha coefficient is .657. The discrimination index for each item, tested by the t-test, range from 2.26-13.13 and there are statistically significant at .01 level for all items. Except item 17. (p<.025)-
dc.format.extent7352175 bytes-
dc.format.extent4437741 bytes-
dc.format.extent15292143 bytes-
dc.format.extent17021016 bytes-
dc.format.extent11829892 bytes-
dc.format.extent6590931 bytes-
dc.format.extent24772575 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการพัฒนาแบบวัดความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en
dc.title.alternativeA development of altruism scale for prathom suksa six studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tassanee_he_front.pdf7.18 MBAdobe PDFView/Open
Tassanee_he_ch1.pdf4.33 MBAdobe PDFView/Open
Tassanee_he_ch2.pdf14.93 MBAdobe PDFView/Open
Tassanee_he_ch3.pdf16.62 MBAdobe PDFView/Open
Tassanee_he_ch4.pdf11.55 MBAdobe PDFView/Open
Tassanee_he_ch5.pdf6.44 MBAdobe PDFView/Open
Tassanee_he_back.pdf24.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.