Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29961
Title: Effect of photosensitizers on the photodegradation of blow molding poly (vinyl chloride)
Other Titles: ผลของสารไวแสงต่อการสลายตัวของโพลิไวนิลคลอไรด์ชนิดเป่าขวด
Authors: Aranya Sirivallop
Advisors: Pattarapan Prasassarakich
Supawan Tantayanon
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Issue Date: 1990
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: PVC resin together with the photosensitizers (benzopenone, anthraquinone) were processed into films, in order to examine the changes of mechanical and physical properties of irradiated films both in outdoor exposure test and accelerated irradiation test and to compare the efficiency of the 2 types of photosensitizers at the same concentration. After an irradiation time of 9 months for outdoor exposure and 240 hours using a medium pressure mercury lamp, the progress of the photodegradation and the effect of the photosensitizers were studied by observing the change of molecular weight, tensile strength, elongation at rupture, Fourier Transform infrared absorption, UV absorption, and visual inspection. The details of photodegradation mechanisms for unsensitized and sensitized PVC sheets were proposed on the basis of the experimental results. The results indicated that sensitized PVC films showed a greater decrease in properties than unsensitized PVC films. At the same concentration, anthraquinone was strongly sensitized in comparison with benzophenone. As the concentration increased, the rates of degradation increased but the difference in the photodegradation was small.
Other Abstract: ตัวอย่างโพลิไวนิลคลอไรด์เรซินชนิดเป่าขวดได้ผ่านกระบวนการขึ้นรูปเป็นแผ่นพลาสติก ในการทดลองมีการเติมสารไวแสง 2 ชนิด คือ แอนทราควิโนน (anthraquinone) และ เบนโซฟิโนน (benzophenone) ที่มีความเข้มข้นต่าง ๆ กันเข้าไประหว่างกระบวนการขึ้นรูปพลาสติก โดยจะมีแผ่นพลาสติกหนึ่งชุดที่ไม่ใส่สารไวแสงเลยเป็นตัวควบคุมสำหรับการทดลองนี้ การทดลองแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ การทดลองกลางแจ้งมีระยะเวลา 9 เดือนและการทดลองในห้องปฏิบัติการมีระยะเวลา 240 ชั่วโมง ศึกษาอิทธิพลของสารไวแสงและติดตามกระบวนการสลายตัวด้วยแสงโดยการสังเกตการเปลี่ยนแปลงทางกลและกายภาพ เช่น ค่าความต้านทานแรงดึงเสียรูป ค่าความต้านทานแรงดึงขาด น้ำหนักโมเลกุล การดูดกลืนแสงอินฟราเรดและอุลตราไวโอเลต การเปลี่ยนแปลงของสีและลักษณะผิวหน้าของแผ่นพลาสติกที่เปลี่ยนไปหลังจากการถูกฉายแสง ณ. เวลาหนึ่ง ๆ ทั้งในธรรมชาติและในห้องปฏิบัติการ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าแผ่นพลาสติกโพลิไวนิลคลอไรด์ที่มีสารไวแสงอยู่นั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางกลและกายภาพมากกว่าแผ่นพลาสติกที่ไม่มีสารไวแสงผสมอยู่ และที่ความเข้มข้นเดียวกันแอนทราควิโนนจะมีความว่องไวต่อการทำปฏิกิริยามากกว่าเบนโซฟิโนน ในช่วงของความเข้มข้นที่ทำการทดลองพบว่า ค่าความเข้มข้นของสารไวแสงสูงขึ้นจะทำให้เกิดอัตราการสลายตัวด้วยแสงสูงขึ้นด้วย แต่ความแตกต่างของอัตราการสลายตัวด้วยแสงอันเนื่องมาจากความเข้มข้นของสารไวแสงนั้นมีเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 1990
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemical Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29961
ISBN: 9745775231
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aranya_si_front.pdf6.14 MBAdobe PDFView/Open
Aranya_si_ch1.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
Aranya_si_ch2.pdf19.55 MBAdobe PDFView/Open
Aranya_si_ch3.pdf4.91 MBAdobe PDFView/Open
Aranya_si_ch4.pdf15.16 MBAdobe PDFView/Open
Aranya_si_ch5.pdf2.64 MBAdobe PDFView/Open
Aranya_si_ch6.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open
Aranya_si_back.pdf17.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.