Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29981
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธพรรณ ตรีรัตน์
dc.contributor.advisorพัชรา ลิปนะเวช
dc.contributor.authorไพรินทร์ กปิลานนท์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-18T09:05:17Z
dc.date.available2013-03-18T09:05:17Z
dc.date.issued2534
dc.identifier.isbn9745788368
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29981
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en
dc.description.abstractการศึกษาเปรียบเทียบอัตราการย่อยสลายของขี้เลื่อยผสมจากถุงก้อนเชื้อเห็ดหอมและ เห็ดนางรมในระยะบ่มเส้นใย พบว่ากระบวนการย่อยสลายขี้เลื่อยผสมจากถุงก้อนเชื้อเห็ดหอมมีอัตราการย่อยสลายสูงกว่าเห็ดนางรม การบ่มเส้นใยของถุงก้อนเชื้อเห็ดหอมใช้ระยะเวลา 180 วัน อัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนลดลงเป็น 30 ส่วนถุงก้อนเชื้อเห็ดนางรมใช้ระยะเวลาในการบ่มเส้นใย 75 วัน และอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนลดลงเป็น 47 การเติมสารประกอบไนโตรเจนและสารเร่ง พด.-1 ลงในขี้เลื่อยจากถุงก้อนเชื้อเห็ดหอมและเห็ดนางรมที่ใช้แล้วในห้องปฏิบัติการ ในสูตรทดลองที่เติมมูลสัตว์ปริมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ และการเติมสารเร่ง พด.-1 ปริมาณ 150 กรัมต่อวัสดุแห้ง 1,000 กิโลกรัม เป็นสูตรทดลองที่เกิดกระบวนการย่อยสลายสูงสุดทั้งในขี้เลื่อยจากถุงก้อนเชื้อเห็ดหอมและเห็ดนางรมที่ใช้แล้ว ใช้ เวลา 60 วันและ 90 วัน อัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนลดลงเป็น 16 และ 18 ตามลำดับ สำหรับการศึกษาเปรียบเทียบอัตราการย่อยสลายของขี้เลื่อยจากถุงก้อนเชื้อเห็ดหอมและเห็ดนางรมในภาคสนาม โดยผสมมูลสัตว์และสารเร่ง พด.-1 พบว่ามีแนวโน้มการย่อยสลายเช่น เดียวกันกับในห้องปฏิบัติการ โดยระยะเวลาการย่อยสลายขี้เลื่อยจากถุงก้อนเชื้อเห็ดหอมสั้นกว่า เห็ดนางรม ค่าอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนของขี้เลื่อยจากถุงก้อนเชื้อเห็ดหอมและเห็ดนางรม ในระยะก่อนการหมัก มีค่า 37 และ 47 หลังจากการย่อยสลายขี้เลื่อยจากถุงก้อนเชื้อเห็ดหอมและเห็ดนางรมเส้นระยะเวลา 60 วันและ 90 วัน อัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนลดลงเป็น 18 และ 19 ตามลำดับ หลังจากการย่อยสลายแล้วมีลักษณะทางกายภาพเป็นปุ๋ยหมักที่สมบูรณ์ โดยปริมาณของไนโตรเจน, ฟอสฟอรัส และโปตัสเซียม มีค่า 1.0, 1.0 และ 0.5 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ
dc.description.abstractalternativeStudy on the comparison of decomposition rate of sawdust blocks of Lentinus edodes and Pleurotus ostreatus during the stage of mycelial growth showed that the rate of sawdust decomposting activities by L. edodes was higher than P. ostreatus. Duration of mycelial growth for to 30, whereas incubation time for mycelial growth in P. ostreatus needed 75 days and C/N ratio was decreased to 47. Effects of nitrogen compounds and microbial activator (LDD.-l) on the decomposition rate of used sawdust of L. edodes and P. ostreatus were carried out in laboratory scale. In the treatment of 10 % animal manure with microbial activator 150 gm/1000 kg dry wight of used sawdust provided the highest rate of decomposition both in L. edodes and P. ostreatus. Duration sawdust decomposting process of L. edodes and P. ostreatus were 60 and 90 days and C/N ratio were decreased to 16 and 18, respectively. Effects of animal manure and microbial activator on decomposition rate of used sawdust of L. edodes and P. ostreatus were also carried out in the field condition, and the results of decomposition rate showed the some trend as in laboratory scale. The initial C/N ratio of used sawdust of L. edodes and P. ostreatus were 37 and 47. After 60 and 90 days of decomposting process, C/N ratio of both used sawdust were decreased to 18 and 19, reapectively. The physical properties of sawdust after decomposting process became as mature compost, and content of N, P and K in such mature compost were 1.0, 1.0 and 0.5 %, respectively.
dc.format.extent6396346 bytes
dc.format.extent4772749 bytes
dc.format.extent5320533 bytes
dc.format.extent13713694 bytes
dc.format.extent5966884 bytes
dc.format.extent1232858 bytes
dc.format.extent5241441 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการย่อยสลายขี้เลือยจากก้อนเชื้อที่ใช้แล้วของเห็ดหอม (Lentinus edodes) และเห็ดนารม (Pleuratus Ostreatus) เพื่อทำปุ๋ยหมักen
dc.title.alternativeDecomposition of used sawdust blocks of Lentinus edodes and Pleurotus Ostreatus for composting productionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพฤกษศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pirindhra_ka_front.pdf6.25 MBAdobe PDFView/Open
Pirindhra_ka_ch1.pdf4.66 MBAdobe PDFView/Open
Pirindhra_ka_ch2.pdf5.2 MBAdobe PDFView/Open
Pirindhra_ka_ch3.pdf13.39 MBAdobe PDFView/Open
Pirindhra_ka_ch4.pdf5.83 MBAdobe PDFView/Open
Pirindhra_ka_ch5.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open
Pirindhra_ka_back.pdf5.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.