Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30140
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิสุทธิ์ ช่อวิเชียร-
dc.contributor.authorอภิชัย ธีระรังสิกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-03-21T09:36:58Z-
dc.date.available2013-03-21T09:36:58Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745793108-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30140-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ได้ทำการศึกษาสาเหตุความล่าช้าของการก่อสร้างถนนกรุงเทพมหานครมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุ และแนวทางลดปัญหาที่ก่อให้เกิดความล่าช้าในการก่อสร้าง ข้อมูลในการวิจัยได้จากสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร โดยรวบรวมจากรายงานการควบคุมงานรายงานการประชุม เอกสารการพิจารณาต่ออายุสัญญา รวมทั้งการสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง จากโครงการปรับปรุงถนน จำนวน 25 โครงการ ในการวิจัยได้แนกสาเหตุที่ทำให้เกิดความล่าช้าเป็น 4 สาเหตุ คือ 1) สาเหตุจากผู้ว่าจ้าง 2) สาเหตุจากผู้รับจ้าง 3) สาเหตุจากสิ่งกีดขวางทางกายภาพ และ 4) สาเหตุจากปัจจัยภายนอก เพื่อพิจารณาหาความถี่และความล่าช้าของแต่ละสาเหตุ ในแต่ละสาเหตุได้พิจารณาถึงสาเหตุย่อยทั้งด้านความถี่และความล่าช้าด้วย นอกจากนี้ได้นำตัวแปรบางตัวมาหาความสัมพันธ์กับความถี่และความล่าช้า โดยใช้ตัวแปรดังนี้ 1) ขนาดของโครงการ 2) มูลค่างานวางท่อใต้ดิน 3) ความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่ก่อสร้าง และ 4) ปีปฏิทินที่เซ็นสัญญาจ้างเหมา จากการวิเคราะห์พบว่า สาเหตุจากสิ่งกีดขวางทางกายภาพมีค่าความถี่ และค่าความล่าช้าเฉลี่ยต่อโครงการมากที่สุด ส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุย่อย "ระบบสาธารณูปโภค" สาเหตุจากผู้ว่าจ้างมีค่าความถี่รองลงมา ซึ่งเกืดจากสาเหตุย่อย "รอแก้ไขแบบ" มากทั้งด้านความถี่และความล่าช้าพบว่า อีก 2 สาเหตุที่เหลือเกิดขึ้นน้อยครั้งมาก ผลจากการหาความสัมพันธ์ของตัวแปรกับความถี่และความล่าช้าพบว่า ด้านความถี่จะไม่เพิ่มขึ้นตามตัวแปรที่เพิ่มขึ้น แต่ด้านความล่าช้าจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นกับปีปฏิทินที่เซ็นสัญญาที่เพิ่มขึ้น และค่อนข้างคงที่กับขนาดของโครงการและมูลค่างานวางท่อใต้ดินที่เพิ่มขึ้น เมื่อนำเหตุการณ์มาวิเคราะห์ โดยหาสาเหตุที่ทำให้เกิดเหตุการณ์นั้น ซึ่งได้แบ่งเป็นขั้นตอนขณะก่อสร้าง และขั้นตอนก่อนการก่อสร้างจะพบความผิดพลาดเกิดขึ้นเป็น 2 รูปแบบ คือ 1) ความผิดพลาดด้านการสำรวจ ออกแบบ 2) ความผิดพลาดด้านการติดต่อประสานงาน ผู้วิจัยได้เสนอแนะแนวทางเพื่อลดปัญหาการก่อสร้างล่าช้าดังนี้ ในขั้นตอนสำรวจควรให้เวลาในการเก็บรายละเอียดต่างๆ ให้มากที่สุด สำหรับปัญหาอุปสรรคจากสิ่งกีดขวางทางกายภาพควรติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบให้เคลื่อนย้ายออกไปก่อนถึงขั้นตอนการก่อสร้าง อีกทั้งผู้ควบคุมงานก่อสร้างถนนในกรุงเทพฯ ควรมีความสามารถด้านมนุษยสัมพันธ์เพิ่มขึ้นมากกว่าการควบคุมงานถนนทั่วไป-
dc.description.abstractalternativeThe research is to study the causes of road construction delays for Bangkok Metropolitan Administration (BMA). The objectives is to investigate the causes and to arrive at approaches to alleviate problems of road construction delays. Data from 25 projects was collected from Department of Public Works, BMA, by interviews and document search. Causes of delays are categorized as 1) by owner 2) by contractor 3) physical obstruction and 4) external factors. The frequencies and severities were analysed from each cause. In addition, each cause was divided into sub-causes to explore the frequencies and severities. Parameters related to frequencies and severities were statistically tested; they are: 1) size of projects 2) size of underground job 3) condensation of people in area adjacent to construction and 4) the year which contract was signed. It was found that "physical obstruction" cause has highest frequency and severity, mostly resulted from "public utilities system" sub-cause, especially the water supply system. Second highest frequency resulted from "by owner" cause, with "wait for improve the plan" sub-cause. The analysis of the parameters related to frequencies and severities of the delays revealed that the frequencies of delays are not related to the increased value of parameters. Severities increase with "the year which contract was signed", but are constant when size of projects and size of underground job increase. Data were analysed as to the timing of delays: the construction phase and before construction phase. It was found that the responsibility of delays lies with: (1) faulty survey/design (2) insufficient coordination. It is recommended that to reduce causes of delays, the survey should be given enough time to collect relevant details. Physical obstruction could be avoided by coordination with responsible authorities to remove obstruction causes before the construction phase. Human relation skill of inspectors of road construction in Bangkok should also be given more consideration.-
dc.format.extent1021717 bytes-
dc.format.extent1421310 bytes-
dc.format.extent1880275 bytes-
dc.format.extent1203498 bytes-
dc.format.extent1946063 bytes-
dc.format.extent2352788 bytes-
dc.format.extent616650 bytes-
dc.format.extent2632542 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการศึกษาสาเหตุความล่าช้าของการก่อสร้างถนนของกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeA study of the causes of road construction delays for Bangkok metropulitan administrationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Apichai_te_front.pdf997.77 kBAdobe PDFView/Open
Apichai_te_ch1.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open
Apichai_te_ch2.pdf1.84 MBAdobe PDFView/Open
Apichai_te_ch3.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
Apichai_te_ch4.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open
Apichai_te_ch5.pdf2.3 MBAdobe PDFView/Open
Apichai_te_ch6.pdf602.2 kBAdobe PDFView/Open
Apichai_te_back.pdf2.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.