Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30383
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวิตีย์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorนวรัตน์ คำเสียง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-03-26T09:13:23Z-
dc.date.available2013-03-26T09:13:23Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30383-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้นำเสนอระเบียบวิธีและพัฒนาเครื่องมือเพื่อวิเคราะห์ความสนใจร่วมกันในด้านงานวิจัยสำหรับนักวิจัย ซึ่งการวิเคราะห์จะมีประโยชน์สำหรับนักวิจัยในการสร้างความร่วมมือกัน รวมทั้งสามารถช่วยในการระบุด้านของงานวิจัยและระดับของความสนใจที่นักวิจัยมีความสนใจร่วมกัน ในการนี้ผู้วิจัยใช้คำสำคัญจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์และจัดทำดัชนีโดยฐานข้อมูลไอเอสไอเพื่อสร้างออนโทโลจีโปรไฟล์งานวิจัยสำหรับนักวิจัย ซึ่งแนวคิดการสร้างออนโทโลจีข้อมูลงานวิจัย และวิเคราะห์ความสนใจร่วมกันในด้านงานวิจัยได้ประยุกต์วิธีการสร้างออนโทโลจีและการจับคู่ออนโทโลจีที่มีอยู่แล้ว โดยการเปรียบเทียบความเหมือนกันระหว่างออนโทโลจีโปรไฟล์งานวิจัยจะพิจารณาจากความเหมือนกันของสายอักขระและความเหมือนกันในเชิงภาษาของคำที่ปรากฏในสองโปรไฟล์ นอกจากนี้ผู้วิจัยได้เพิ่มแนวคิดเกี่ยวกับน้ำหนักความลึกสำหรับการจับคู่ออนโทโลจี โดยที่น้ำหนักความลึกของคู่คำที่ถูกจับคู่จะถูกกำหนดโดยระยะทางจากรากของออนโทโลจีจนถึงตำแหน่งของคู่คำที่ปรากฏในออนโทโลจี เนื่องจากคู่คำที่เหมือนกันและอยู่ลึกลงไปในระดับล่างของออนโทโลจีจะได้รับความสนใจมากกว่าคู่คำที่อยู่ในระดับบน เพราะถือว่าเป็นคู่คำที่แสดงความสนใจเฉพาะทางมากกว่า การวัดประสิทธิภาพระหว่างระเบียบวิธีที่นำเสนอกับวิธีการจับคู่ออนโทโลจีที่มีอยู่แล้วจะใช้มาตรฐานของโอเออีไอ 2011 ซึ่งผลที่ได้พบว่าแนวคิดของน้ำหนักความลึกจะให้ค่าความแม่นยำที่ดีขึ้น แต่ค่าเรียกคืนจะลดลงen
dc.description.abstractalternativeThis thesis presents a methodology and develops a tool to analyze common research interest for researchers. The analysis can be useful for researchers in establishing further collaboration as it can help to identify the areas and degree of interest that any two researchers share. Using keywords from the publications indexed by ISI Web of Knowledge, we build ontological research profiles for the researchers. Our methodology builds upon existing approaches to ontology building and ontology matching in which the comparison between research profiles is based on string similarity and linguistic similarity between the terms in the two profiles. In addition, we add the concept of depth weights to ontology matching. A depth weight of a pair of matched terms is determined by the distance of the terms from the root of their ontologies. We see that more attention should be paid to the matched pair that are located near the bottom of the ontologies than to the matched pair that are near the root, since they are more specialized areas of interest. A comparison between our methodology and an existing ontology matching approach, using OAEI 2011 benchmark, shows that the concept of depth weights gives better precision but lower recall.en
dc.format.extent1959138 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1078-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectออนโทโลยี (ทฤษฎีความรู้)en
dc.subjectวิจัยen
dc.subjectเว็บเชิงความหมายen
dc.titleการพัฒนาเครื่องมือเพื่อการวิเคราะห์ความสนใจร่วมกันในด้านงานวิจัยสำหรับนักวิจัยen
dc.title.alternativeA development of a tool for common research interests analysis for researchersen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisortwittie.s@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1078-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nawarat_ka.pdf1.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.