Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30528
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เชาวเลิศ เลิศชโลฬาร | - |
dc.contributor.author | บัญชา พรหมขำ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-04-17T07:46:10Z | - |
dc.date.available | 2013-04-17T07:46:10Z | - |
dc.date.issued | 2534 | - |
dc.identifier.isbn | 9745784281 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30528 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบผลของการใช้ตัวชี้นำที่เป็นคำในแถบวีดิทัศน์ ที่มีต่อการสร้างมโนทัศน์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดวังทิพย์พันธาราม โรงเรียนวัดสมบูรณ์สามัคคี โรงเรียนวัดวังไทร โรงเรียนสาลิกา และโรงเรียนวัดวังตูม อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก ปีการศึกษา 2533 จำนวน 100 คน แบ่งเป็นกลุ่มที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองเป็นบทเรียนแถบวีดิทัศน์ 2 รูปแบบคือ บทเรียนที่มีการใช้ตัวชี้นำที่เป็นคำและบทเรียนที่ไม่มีการใช้ตัวชี้นำที่เป็นคำ ผลการวิจัยพบว่า 1. ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างการใช้และการไม่ใช้ตัวชี้นำที่เป็นคำ ในบทเรียนแถบวีดิทัศน์ กับระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มีต่อการสร้างมโนทัศน์ ที่ระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 2. นักเรียนที่เรียนจากบทเรียนแถบวีดิทัศน์ที่ใช้ตัวชี้นำที่เป็นคำ มีความสามารถในการสร้างมโนทัศน์ได้ดีกว่านักเรียนที่เรียนจากบทเรียนแถบวีดิทัศน์ที่ไม่ใช้ตัวชี้นำที่เป็นคำ ที่ระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 3. นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง เมื่อเรียนจากบทเรียนแถบวีดิทัศน์ มีความสามารถในการสร้างมโนทัศน์ได้ดีกว่านักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ที่ระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to compare effects of verbal visual cues in video tape upon concept formation of Prathom Suksa two students with different levels of learning achievement. The subjects were one hundred Prathom Suksa two students during academic year 1990 from Wat Wangthip Phantharam School, Wat Somboon Samakhee School, Wat Wangsai School, Salika School and Wat Wangtoom School, Amphor Muang, Nakornnayok. The subjects were divided into high level and low level learning achievement groups. The subjects were learning from video tape, one with verbal visual cues and one without verbal visual cues. The findings indicated that : 1. There was no interaction at the 0.05 level of significance between the verbal visual cues in video tape and the levels of learning achievement upon concept formation. 2. There was a significant difference at the 0.05 level of significance between the ability in concept formation of students learning from video tape with verbal visual cues and students learning from video tape without verbal visual cues. 3. There was a significant difference at the 0.05 level of significance between the high and low learning achievement students in concept formation in learning from video tape. | - |
dc.format.extent | 3671890 bytes | - |
dc.format.extent | 4600867 bytes | - |
dc.format.extent | 20378488 bytes | - |
dc.format.extent | 2281799 bytes | - |
dc.format.extent | 2431942 bytes | - |
dc.format.extent | 3350455 bytes | - |
dc.format.extent | 9943296 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ผลของการใช้ตัวชี้นำที่เป็นคำในแถบวีดิทัศน์ ที่มีต่อการสร้างมโนทัศน์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกัน | en |
dc.title.alternative | Effects of verbal visual cues in video tape upon concept formation of prathom suksa two students with different levels of learning achievement | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | โสตทัศนศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Bancha_ph_front.pdf | 3.59 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bancha_ph_ch1.pdf | 4.49 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bancha_ph_ch2.pdf | 19.9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bancha_ph_ch3.pdf | 2.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bancha_ph_ch4.pdf | 2.37 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bancha_ph_ch5.pdf | 3.27 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bancha_ph_back.pdf | 9.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.