Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30740
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกริก ภิรมย์โสภา-
dc.contributor.authorธนารักษ์ รักธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-05-02T04:12:52Z-
dc.date.available2013-05-02T04:12:52Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30740-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการประยุกต์ใช้เทคนิคการทำเหมืองข้อมูลสามารถพบได้ในหลายภาคส่วนของอุตสาหกรรมยานยนต์ และถูกใช้เป็นหนึ่งในเครื่องมือสำคัญในหลายระบบของการผลิตแม่พิมพ์ฉีด ซึ่งเป็นหนึ่งในขั้นตอนสำคัญในการผลิตยานยนต์ ในการออกแบบแม่พิมพ์ฉีด จะเริ่มต้นที่แผนกออกแบบ (CAD) โดยการออกแบบจะใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ จากนั้นจะส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ไปยังแผนกแคม (CAM) เพื่อแปลงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ไปเป็นทางเดินของเครื่องมือกัด และข้อมูลที่จำเป็นอื่น ๆ เพื่อใช้ในการทำงานที่เครื่องจักร จากนั้นส่งข้อมูลไปยังแผนกเครื่องจักร โดยทั้งนี้ได้มีการพัฒนาระบบตรวจติดตามการทำงานของเครื่องจักรแบบอัตโนมัติ โดยการตรวจสอบการใช้กระแสไฟฟ้า 3 เฟส ของเครื่องจักรซีเอนซี เพื่อลดความผิดพลาดของมนุษย์จึงมีการนำเทคนิคการทำเหมืองข้อมูลมาใช้เพื่อจำแนกรูปแบบการใช้กระแสไฟฟ้า โดยสามารถระบุกระบวนการผลิตได้อย่างอัตโนมัติ ในงานวิจัยนี้เลือกใช้การสร้างตัวแบบจากวิธีการดังนี้คือ เบย์อย่างง่าย, เบย์เซียนเน็ตเวิร์ค, โครงข่ายประสาทเทียมชนิดแพร่กลับ, เคสตาร์, ตารางการตัดสินใจ และ ต้นไม้การตัดสินใจ ส่วนวิธีการแบบกลุ่มที่เลือกใช้คือ AdaBoostM1, Bagging , Stacking และ Vote ซึ่งการใช้วิธีแบบกลุ่มนั้นจะทำให้ตัวแบบมีความแม่นยำมากขึ้น ในการสร้างตัวแบบในขั้นตอนการฝึกและการทดสอบตัวแบบจะใช้วิธีการประเมินความแม่นยำด้วยวิธีการไขว้ข้าม 10 กลุ่ม จากผลการวิจัยจะพบว่าวิธีการสร้างตัวแบบแบบกลุ่มโดยวิธี Bagging โดยใช้ตัวจำแนกต้นไม้การตัดสินใจซึ่งในขั้นตอนการเตรียมข้อมูลไม่ผ่านการทำให้เป็นแบบไม่ต่อเนื่องนั้นให้ค่า AUC เท่ากับ 0.946en
dc.description.abstractalternativeApplications using Data Mining Technique can be found in many facets of the automotive industry. In the injection mold manufacturing, a crucial step in automotive production, computational tools have been applied in several places. Starting from design section, injection mold is designed by the Computer Aided Design (CAD) software. The design is then sent to Computer Aided Manufacturing (CAM) section creating tool paths and the necessary information for machining. The final CAM data is later used for machining. In particular, we developed machine workload monitoring system to support the process planner by monitoring 3-phase electrical usage. To reduce human error, we applied data mining technique to electrical usage patterns for identifying current process running in CNC machines. In this paper, classifiers are created by applying 1)Naive Bayes 2) Bayes Net 3) Neural Network 4) KStar 5) Decision Table and 6) J48(C4.5) to electrical data. Later ensemble methods such as 1) AdaBoostM1, 2) Bagging, 3) Stacking, and 4) Vote are applied to each classier to create more robust models. The models are trained and tested with 10-fold cross validation. Our preliminary result shows that bagging ensemble of J48 classifier with no discretization in the preprocessing step gives the best AUC = 0.946.en
dc.format.extent2441285 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1236-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectดาต้าไมนิงen
dc.subjectต้นทุนทางอุตสาหกรรมen
dc.subjectอุตสาหกรรมรถยนต์ -- การควบคุมต้นทุนการผลิตen
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองภาระการทำงานของเครื่องจักรซีเอนซี จากการใช้กระแสไฟฟ้า 3 เฟส ด้วยวิธีการแบบกลุ่มen
dc.title.alternativeDevelopment of workload models for cnc machines from 3 - phase current consumption using ensemble methoden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKrerk@cp.eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1236-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
thanarak_ra.pdf2.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.