Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30901
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชยากริด ศิริอุปถัมภ์-
dc.contributor.advisorมานิตย์ ช้อนสุข-
dc.contributor.authorธวัชชัย อิทธิพูนธนกร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-05-14T02:29:41Z-
dc.date.available2013-05-14T02:29:41Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746348876-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30901-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการศึกษาและทดลองทำวัสดุโพลีเอทีลีนหดตัวได้ด้วยความร้อนโดยใช้รังสีแกมมาจากโคบอล์ต-60 ภายใต้เงื่อนไขของสภาวะการฉายรังสี ปริมาณรังสีแกมมาและความหนาของวัสดุ รวมทั้งทำการทดสอบคุณสมบัติเชิงกล การหาปริมาณเจล ซึ่งสามารถใช้อ้างอิงแทนปริมาณการเชื่อมโยงของโมเลกุลได้ และหาจุดหลอมเหลวของฟิล์มด้วย วัสดุที่ใช้ทำการวิจัยนี้ใช้ฟิล์มโพลีเอทีลีนความหนาแน่นต่ำ การทดลองทำโดยเปรียบเทียบการหดของฟิล์ม ซึ่งทำให้ทราบว่าการเพิ่มปริมาณรังสีแกมมา (ในช่วง 0 ถึง 400 kGy) หรือการเพิ่มความหนาของฟิล์ม (25-125 ไมโครเมตร) จะทำให้ความสามารถในการหดของฟิล์มลดลง นอกจากนี้การเพิ่มปริมาณรังสีแกมมายังมีผลต่อคุณสมบัติเชิงกลและจุดหลอมเหลวของฟิล์มคือมีแนวโน้มจะทำให้ฟิล์มมีความทนต่อแรงดึงได้มากขึ้นและทำให้ความสามารถในการยืดของฟิล์มลดลงด้วย และมีผลทำให้จุดหลอมเหลวของฟิล์มลดลง แต่การเพิ่มปริมาณรังสีแกมมาที่สูงเกินไป (300 ถึง 400 kGy) กลับมีผลเสียต่อฟิล์มคือทำให้มีคุณสมบัติเชิงกลต่ำ ดังนั้นการเลือกปริมาณรังสีและความหนาของฟิล์มที่เหมาะสมว่าจะเป็นเท่าไรนั้นจะขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการนำวัสดุโพลีเอทีลีนหดตัวได้ด้วยความร้อนไปใช้งาน-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the fabrication of heat shrinkable polyethylene by gamma irradiation. The studies included irradiation in an inert gas or vacuum, variation of doses and thickness of films. Testing for mechanical properties, gel content and melting point at various radiation dose of films were also conducted. Results from the experiment showed that increasing of radiation dose (100 to 400 kGy) and increasing of thickness of films (25 to 125 micrometers) resulted in decreasing in degree of shrinking. Tensile strength and elongation at break were found to be increased and decreased respectively at radiation dose from 100-400 kGy. Beyond 400 kGy the film properties became poorer than that from irradiation at lower doses.-
dc.format.extent6242315 bytes-
dc.format.extent1328229 bytes-
dc.format.extent8886005 bytes-
dc.format.extent3598980 bytes-
dc.format.extent10038757 bytes-
dc.format.extent2001705 bytes-
dc.format.extent3917170 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการทำวัสดุโพลีเอทีลีนหดตัวได้ด้วยความร้อนโดยการฉายรังสีแกมมาen
dc.title.alternativeFabrication of a polythylene heat-shrinkable material by gamma irradiationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thawatchai_it_front.pdf6.1 MBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_it_ch1.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_it_ch2.pdf8.68 MBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_it_ch3.pdf3.51 MBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_it_ch4.pdf9.8 MBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_it_ch5.pdf1.95 MBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_it_back.pdf3.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.