Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30939
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธงชัย พรรณสวัสดิ์ | - |
dc.contributor.advisor | สุเมธ ชวเดช | - |
dc.contributor.author | ธาดา ฉัตรธานี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-05-16T02:28:59Z | - |
dc.date.available | 2013-05-16T02:28:59Z | - |
dc.date.issued | 2531 | - |
dc.identifier.isbn | 9745686239 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30939 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 | en |
dc.description.abstract | ในการศึกษาการทดลองงานวิจัยนี้ ใช้ระบบหมักแบบ Anaerobic activated sludge เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของระบบหมักแบบสองขั้นตอน เปรียบเทียบกับระบบหมักแบบขั้นตอนเดียว น้ำเสียจากโรงงานแป้งมันสำปะหลัง ที่ใช้ทดลองป้อนเข้าสู่ระบบ ถูกควบคุมปริมาณสารอินทรีย์ในรูปซีโอดีคงที่ประมาณ 20,000 มก./ล. จากผลการทดลองระบบหมักแบบสองขั้นตอน พบว่าขั้นตอนของการหมักกรดอินทรีย์มีสภาวะเหมาะสมที่เวลาจำกัด 1 วัน ซึ่งตรงกับภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 21-22 กก.ซีโอดี/ม³.-วัน ส่วนขั้นตอนของการหมักมีเทน มีสภาวะเหมาะสมที่เวลากำจัด 5 วัน ซึ่งตรงกับภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 3.06 กก.ซีโอ/ม³.-วัน คิดเป็นเวลากำจัดรวมทั้งระบบ 6 วัน ซึ่งตรงกับภาระบรรทุกสารอินทรีย์รวมทั้งระบบ 3.63 กก.ซีโอดี/ม³.-วัน โดยมีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดีที่คิดจากซีโอดีรวมในน้ำทิ้งที่ออกจากระบบ (total effluent COD) เป็น 92.1% และที่คิดจากซีโอดีน้ำทิ้งส่วนที่ใส (centrifuged effluent COD) เป็น 97.1% โดยมีอัตราการผลิตก๊าซชีวภาพสูงถึง 1.325 ม³./ม³.-วัน และมีประสิทธิภาพการเปลี่ยนสารอินทรีย์เป็นก๊าซมีเทนสูงสุด คิดเป็น 0.199 ม³./กก. ของซีโอดีที่ถูกกำจัด สำหรับระบบหมักแบบขั้นตอนเดียวที่มีสภาวะที่เหมาะสมและมีเสถียรภาพต่อการหมัก จะต้องใช้เวลากำจัดสูงถึง 13 วัน หรือคิดเป็นภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 1.64 กก.ซีโอดี/ม³.-วัน นอกจากนี้ก๊าซชีวภาพที่เกิดขึ้นจากถังหมักมีเทนในขั้นตอนที่สองยังมีเปอร์เซนต์มีเทนในก๊าซชีวภาพสูงถึง 61.7% ในขณะที่เปอร์เซ็นต์มีเทนในก๊าซชีวภาพที่เกิดจากถังหมักในระบบหมักแบบขั้นตอนเดียว มีค่าสูงสุดเพียง 46.8% เท่านั้น | - |
dc.description.abstractalternative | In these experimental studies, anaerobic activated sludge systems were used to study the process efficiency between the two-stage and the single stage anaerobic process. Tapioca wastewater was used to feed into the studied fermenters. The COD value of the wastewater was kept constant about 20,000 mg/l. From experimental results of the two-stage anaerobic process, the optimum hydraulic retention time (HRT) for the acidogenic stage was 1 day corresponding to the organic loading between 21-22 kg COD/m³.d. and for methanogenic stage was 5 days corresponding to the organic loading of 3.06 kg COD/m³.d. Hence the optimum HRT for the overall process was 6 days corresponding to the organic loading of 6.63 kg COD/m³.d. Under these optimum conditions, the process had COD removal efficiency which calculated from total effluent COD was 92.1% and calculated from centrifuged effluent COD was 97.1%. These conditions gave the bio-gas production rate of 1.325 m³./m³.d and had the highest methane yield value of 0.199 m³./kg COD removed. Under the same optimum conditions, the single stage process must be 13 days of HRT corresponding to the organic loading of 1.64 kg COD/m³.d. The percentage of methane in the bio-gas generated from methane fermenter in the second stage was 61.7% while the single stage fermenter gave the highest percentage of methane in bio-gas only 46.8% | - |
dc.format.extent | 6266299 bytes | - |
dc.format.extent | 944253 bytes | - |
dc.format.extent | 597914 bytes | - |
dc.format.extent | 11840435 bytes | - |
dc.format.extent | 4743180 bytes | - |
dc.format.extent | 4307961 bytes | - |
dc.format.extent | 1902557 bytes | - |
dc.format.extent | 15855424 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การบำบัดน้ำเสียจากโรงงานแป้งมันสำปะหลัง โดย กระบวนการไร้ออกซิเจนอิสระแบบสองขั้นตอน | en |
dc.title.alternative | Treatment of tapioca wastewaters by a two-stage anaerobic process | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสุขาภิบาล | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tada_ch_front.pdf | 6.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tada_ch_ch1.pdf | 922.12 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Tada_ch_ch2.pdf | 583.9 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Tada_ch_ch3.pdf | 11.56 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tada_ch_ch4.pdf | 4.63 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tada_ch_ch5.pdf | 4.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tada_ch_ch6.pdf | 1.86 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tada_ch_back.pdf | 15.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.