Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31027
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริจันทร์ ทองประเสริฐ | - |
dc.contributor.advisor | ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ | - |
dc.contributor.author | ผจญ ภักดีกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-05-17T05:21:57Z | - |
dc.date.available | 2013-05-17T05:21:57Z | - |
dc.date.issued | 2532 | - |
dc.identifier.isbn | 9745765988 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31027 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532 | en |
dc.description.abstract | ในระบบการดำเนินงานอุตสาหกรรมการผลิตแบบต่อเนื่องนั้น โดยทั่วไปแล้วจะพบปัญหาด้านการทำงานในขั้นตอนต่างๆ ตามกระบวนการ ซึ่งสามารถแบ่งแยกส่วนของกิจกรรมการทำงานได้ 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ กิจกรรมของการประกอบ (Assembling Activity) และกิจกรรมของเครื่องจักร (Machining Activity) โดยในส่วนการทำงานทั้งสองนี้ จะดำเนินได้ด้วยคนงานเป็นผู้ควบคุมขั้นตอนตามกระบวนการเหล่านี้ หากกิจกรรมของงานในบางกระบวนการมีการสูญเปล่าอยู่ เช่น การรอคอย ความล่าช้า และการขนส่ง เป็นต้น จะมีผลทำให้เกิดสภาพความไม่สมดุลของการผลิต (Imbalance of Process) เกิดขึ้นของการจัดการของเทคนิคในการบริหารควบคุมงานการผลิตที่ดี จะทำให้เกิดสภาพความสมดุลย์และต่อเนื่องในทุกๆ กระบวนการตามขั้นตอนกรรมวิธี ผลจากการศึกษาวิจัยและผลการดำเนินการปรับปรุงระบบงานโดยรวม สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. ระบบงานการประกอบ 1.1 ลดความล่าช้าลงได้ 5.7% สำหรับสายงานการปรกอบตัวตู้ก่อนการฉีดยูรีเทนโฟม, 5.43% สำหรับสายงานการประกอบตัวตู้ส่วนหน้า และ 4.07% สำหรับสายงานการประกอบตัวตู้ส่วนหลัง 1.2 ลดเวลางานการประกอบลงได้ 12.5% สำหรับสายงานการประกอบตัวตู้ก่อนการฉีดยูรีเทนโฟม และ 4.8% สำหรับสายงานการประกอบตัวตู้ส่วนหน้าและส่วนหลัง 2. ระบบงานการจัดส่งขึ้นส่วนหลักเข้าสายงานการประกอบ 2.1 ลดเวลาที่ใช้ในการทำงานการขนส่งของคนงานลงได้ 51.1% 2.2 ลดเวลาที่ใช้ในการขนส่งขึ้นส่วนลงได้ 60.05% 2.3 ลดระยะทางการขนส่งลงได้ 59.2% จากผลการดำเนินงานการจัดสมดุลย์สายงานการประกอบ และปรับปรุงระบบงานการจัดส่งขึ้นส่วนหลักเข้าสายงานการประกอบ ดังกล่าว จะมีผลทำให้ผลผลิตของแรงงานเพิ่มขึ้น 6.38% และผลผลิตของชั่วโมงแรงงาน (Man-hour Productity) เพิ่มขึ้น 7.69% | - |
dc.description.abstractalternative | Most continuous manufacturing processes consist of two types of production activities. These are the assembling activity and the machining activity, with human operator in between. Production efficiency is always lost in terms of waiting, delay, and transportation, causing an imbalance of processes. With a proper planning and control, it is possible to minimize the lost and thus attaining balance and continuity of processes. A study on the refrigerator manufacturing plant is presented which could be summarized as follows: 1. In the assembly line: 1.1 The waiting time was reduced by 5. 7% for the body assembling, 5.43 % for the front panel assembling, and 4.07 % for the back panel assembling. 1.2 The working time was redeced by 12.5 % for the body assembling, 4.8% for the front and back panel assembling. 2. In material handling: 2:1 Workers'time used in material handling was reduced by 51.1% 2.2 Material handling time was reduced by 60.5 % 2.3 Handling distance was reduced by 59.2 % With the balancing of the assembly line, and the improvement in the delivery system for major parts to the production line, overall labour productivity was increased by 6.38 %, and man-hour productivity was increased by 7.69%. | - |
dc.format.extent | 4226372 bytes | - |
dc.format.extent | 1881239 bytes | - |
dc.format.extent | 6925953 bytes | - |
dc.format.extent | 11636006 bytes | - |
dc.format.extent | 13887859 bytes | - |
dc.format.extent | 2520705 bytes | - |
dc.format.extent | 11962794 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ผลิตภาพ | |
dc.subject | อุตสาหกรรมตู้เย็น -- การควบคุมต้นทุนการผลิต | |
dc.subject | การบริหาร -- ไทย | |
dc.subject | กรรมวิธีการผลิต | |
dc.subject | การควบคุมกระบวนการผลิต | |
dc.subject | การควบคุมการผลิต -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์ | |
dc.title | การปรับปรุงเพื่อเพิ่มผลผลิตของอุตสาหกรรมการประกอบตู้เย็น | en |
dc.title.alternative | Productivity improvement of assembling refrigerator industry | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Prajon_pa_front.pdf | 4.13 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Prajon_pa_ch1.pdf | 1.84 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Prajon_pa_ch2.pdf | 6.76 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Prajon_pa_ch3.pdf | 11.36 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Prajon_pa_ch4.pdf | 13.56 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Prajon_pa_ch5.pdf | 2.46 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Prajon_pa_back.pdf | 11.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.