Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31032
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุทุมพร จามรมาน | - |
dc.contributor.advisor | ชอบ ลีซอ | - |
dc.contributor.author | ผดุงชัย ภู่พัฒน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-05-17T06:10:23Z | - |
dc.date.available | 2013-05-17T06:10:23Z | - |
dc.date.issued | 2538 | - |
dc.identifier.isbn | 9746321544 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31032 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและตรวจสอบความตรงของผลการวัดสติปัญญาตามแนวคิดของสเติร์นเบอร์ก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตการศึกษา 7 สังกัดกรมสามัญศึกษา จำนวน 1,251 คน จากจำนวนประชากรทั้งสิ้น 136,859 คน ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบวัดสติปัญญาตามแนวคิดของสเติร์นเบอร์ก จำนวน 3 ฉบับ ซึ่งเป็นแบบสอบวัดตามทฤษฎีย่อย 3 ทฤษฎี ดังนี้ ทฤษฎีย่อยด้านการคิด ทฤษฎีย่อยด้านประสบการณ์ และทฤษฎีย่อยด้านบริบทสังคม ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. แบบสอบวัดสติปัญญาที่สร้างขึ้นมีความสอดคล้องกับแนวคิดของสเติร์นเบอร์ก 2. ผลการตรวจสอบความตรงของผลการวัดสติปัญญา พบว่า 2.1 ความสัมพันธ์รายคู่ระหว่างทฤษฎีย่อยด้านการคิดกับด้านประสบการณ์ ด้านการคิดกับด้านบริบทสังคม และด้านประสบการณ์กับด้านบริบทสังคม มีทิศทางเป็นบวก และมีขนาดที่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) 2.2 ความสัมพันธ์รายคู่ระหว่างองค์ประกอบย่อยในทฤษฎีย่อยด้านการคิดและในทฤษฎีย่อยด้านประสบการณ์ มีทิศทางเป็นบวก และมีขนาดที่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) 2.3 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 3 ต่างมีคะแนนจากแบบสอบวัดสติปัญญาในทฤษฎีย่อยด้านการคิดและด้านประสบการณ์สูงกว่านักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) 2.4 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 3 ต่างมีคะแนนจากแบบสอบวัดสติปัญญาในองค์ประกอบย่อยด้านการปฏิบัติ ด้านการแสวงหาความรู้ และความสามารถในความคล่องของการประมวลผลข้อมูล สูงกว่านักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อย่างมีนัยสำคัญ (p<.05) | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to construct tests in order to verify the validity of the results of the intelligence measures based on Sternberg's Conceptual Framework. Random sample subjects of 1,25l Matayom Suksa 1 - 3 students were drawn from the whole population of 136,859 secondary schools students in the seventh Educational Region. The three models of Intelligence measures based on Sternberg's Conceptual Framework were employed to assess the three subtheories: Componential, Experiential and Contextual subtheories respectively. The results are as follows : 1. The constructed Intelligence tests are consistent with Sternberg's Conceptual Framework. 2. The results obtained from the Intelligence tests indicated that 2.1 Positive and significant relationships (p < .001) were found between measures of the three subtheories. 2.2 Relatively small, positive relationships were found between component of the Componential and the Experiential Subtheories. 2.3 The Matayom Suksa 2 and 3 students obtained higher intelligence test scores based on the Componential and Experiential Subtheories than Matayom Suksa 1 students (p <.OS). 2.4 The Matayom Suksa 2 and 3 students obtained higher intelligence test scores based on the Performance Component, Knowledge - Acquisition Components and the Ability to Automatize Processing Component than Matayom Suksa 1 students (p < .OS) | - |
dc.format.extent | 4401996 bytes | - |
dc.format.extent | 3997942 bytes | - |
dc.format.extent | 14608918 bytes | - |
dc.format.extent | 6420180 bytes | - |
dc.format.extent | 7740828 bytes | - |
dc.format.extent | 3623857 bytes | - |
dc.format.extent | 10681127 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การตรวจสอบความตรงของผลการวัดสติปัญญาตามแนวคิดของสเติร์นเบอร์ก | en |
dc.title.alternative | A validation of intelligence measures based on Sternberg's conceptual framework | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | es |
dc.degree.discipline | วิจัยการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Phadungchai_pu_front.pdf | 4.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phadungchai_pu_ch1.pdf | 3.9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phadungchai_pu_ch2.pdf | 14.27 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phadungchai_pu_ch3.pdf | 6.27 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phadungchai_pu_ch4.pdf | 7.56 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phadungchai_pu_ch5.pdf | 3.54 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phadungchai_pu_back.pdf | 10.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.