Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31108
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมบูรณ์ สุวีระ | - |
dc.contributor.advisor | สุจริต คูณธนกุลวงศ์ | - |
dc.contributor.author | พิพรรธ วงศ์วิวัฒน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-05-20T05:13:57Z | - |
dc.date.available | 2013-05-20T05:13:57Z | - |
dc.date.issued | 2533 | - |
dc.identifier.isbn | 9745772828 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31108 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 | en |
dc.description.abstract | แม่น้ำบางนรา มีแนวขนานกับชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกของอ่าวไทย อยู่ในเขตจังหวัดนราธิวาส ลักษณะพิเศษทางด้านชลศาสตร์ของแม่น้ำสายนี้คือมีปากน้ำ 3 แห่งเปิดสู่ทะเล คือปากแม่น้ำที่อำเภอเมือง ปากแม่น้ำที่อำเภอตากใบ และปากคลองน้ำแบ่งขุดโดยกรมชลประทาน การไหลในลำน้ำตลอดทั้งสายได้รับอิทธิพลจากการขึ้นลงของน้ำทะเล อันจะมีผลทำให้ลำน้ำสามารถระบายน้ำได้น้อย ในปัจจุบัน แม่น้ำบางนรามีประตูควบคุมน้ำที่ปากน้ำทั้งสามแห่งสำหรับเป็นอาคารของระบบเก็บกักน้ำเพื่อ การชลประทานและการระบายน้ำ ซึ่งจากผลการศึกษาของไจก้ารายงานว่า การก่อสร้างประตูควบคุมน้ำที่ปากน้ำธรรมชาติทั้งสองแห่ง จะสามารถลดระดับน้ำสูงสุดเฉลี่ยในลำน้ำได้เพียง 0.10 เมตร และลดระยะเวลาท่วมขังของน้ำได้ประมาณ 7 ถึง 8 ชั่วโมง การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำบางนราโดยกำหนดให้พิจารณาเลือกการขุดคลองแนวใหม่ 1 สาย หรือขยายคลองน้ำแบ่งเดิม จากการศึกษาความเหมาะสมทางด้านกายภาพ สามารถกำหนดแนวคลองได้เป็น 3 แนว ทางพื้นที่ด้านเหนือของแนวคลองน้ำแบ่ง การศึกษาได้พิจารณากรณีดำเนินการศึกษาต่างๆ ในแต่ละแนวคลองที่กำหนดขึ้นจากตัวแปรหลัก 3 ตัวแปร คือ ความกว้างของช่องเปิดประตูควบคุมน้ำ ความกว้างของก้นคลอง และระดับธรณีประตูควบคุมน้ำ การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของกรณีดำเนินการศึกษาที่กำหนดขึ้นมานี้ ใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์ที่ได้สร้างขึ้น โดยใช้วีค่าแตกต่างจำกัด และคำนวณผลลัพธ์โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้น ผลการศึกษาสรุปได้ว่า การขุดคลองแนวใหม่เพิ่มขึ้น 1 สาย หรือขยายคลองน้ำแบ่งมีความเหมาะสมทางด้านวิศวกรรม ระดับความรุนแรงของอุทกภัยสามารถลดลงได้และมีความสัมพันธ์โดยตรงกับตัวแปรต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับระดับธรณีประตูควบคุมน้ำและแนวของคลอง ในกรณีที่เลือกขุดคลองใหม่ การขุดคลองตามแนวซึ่งอยู่ใกล้กับแนวคลองน้ำแบ่งมากที่สุดโดยที่กำหนดระดับธรณีประตูเท่ากับ -4.900 ม.-รทก. จะมีประสิทธิภาพของการระบายน้ำสูงสุด | - |
dc.description.abstractalternative | Bang Nara river flows parallel to western coast of the Gulf of Thailand in Narathiwat province. The river has two estuaries, at A. Muang and A.Tak Bai, and one man-made outlet, at Royal Irrigation Department's Nambaeng drain canal. Its obvious hydraulic feature is that the river flow behavior is affected by tidal oscillation. Therefore, the river drainage efficiency is low resulting in flooding during annual high flow period. At present, all outlets have regulators acting as water storage and drainage control structures. The regulators at its natural outlets were constructed according to JICA recommendation. Their flood control benefit is that flood peak average can be reduced by 0.10 metre and inundation duration can be reduced about 7 to 8 hours. The objective of this study touches on aspect of the best solution finding for increasing drainage efficiency in Bang Nara river. The possible action is improving the existing Nambaeng canal or dredging a new canal. According to primary investigation on the physical characteristics of the river basin, three possible canal routes were selected. For each route, alternatives were set based on the variation of three dominating variables, width of gate opening, width of canal, and sill elevation of gate. Then, a mathematical model was developed for characterizing the river configuration. The system is solved by finite difference method based on UNSTEADYFLOW Computer Programme. The analysis results show that either dredging one additional canal or improving the existing Nambaeng canal are possible in engineering aspect. The degree of severity that can be reduced relates directly to all variables, particularly sill elevation of gate and route of canal. In the case of dredging a new canal, the most adjacent route to the Nambaeng canal with sill elevation at -4.900 m.-msl is the best solution. | - |
dc.format.extent | 1421984 bytes | - |
dc.format.extent | 899494 bytes | - |
dc.format.extent | 2655264 bytes | - |
dc.format.extent | 2882386 bytes | - |
dc.format.extent | 2207856 bytes | - |
dc.format.extent | 1089138 bytes | - |
dc.format.extent | 2970293 bytes | - |
dc.format.extent | 1157986 bytes | - |
dc.format.extent | 5469559 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ความเป็นไปได้ในการขุดคลองเพื่อบรรเทาอุทกภัยในแม่น้ำบางนรา | en |
dc.title.alternative | Possibility of canal dredging for flood mitigation in Bang Nara River | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pipat_vo_front.pdf | 1.39 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pipat_vo_ch1.pdf | 878.41 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pipat_vo_ch2.pdf | 2.59 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pipat_vo_ch3.pdf | 2.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pipat_vo_ch4.pdf | 2.16 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pipat_vo_ch5.pdf | 1.06 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pipat_vo_ch6.pdf | 2.9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pipat_vo_ch7.pdf | 1.13 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pipat_vo_back.pdf | 5.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.