Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31165
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิยม ธำรงค์อนันต์สกุล-
dc.contributor.authorอรุณรัตน์ มุจจลินท์วิมุติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-05-21T06:17:55Z-
dc.date.available2013-05-21T06:17:55Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31165-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินค่ากำลังแรงยึดดึงของวัสดุยึดติด 3 ระบบคือ ซุปเปอร์บอนด์ซีแอนด์บี พานาเวียเอฟทู และรีลายเอ็กซ์ยูนิเซมร่วมกับแอดฮีซีฟเอ็กไซท์ดีเอสซี กับเนื้อฟันที่ผ่านการแช่ด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ความเข้มข้นร้อยละ 2.5 เป็นเวลา 3 นาที โดยนำฟันกรามมนุษย์ซี่ที่สามที่ตัดด้านสบฟันออกให้เห็นผิวเนื้อฟัน จากนั้นแบ่งเป็น 3 กลุ่ม โดยนำมายึดด้วยวัสดุเรซินซีเมนต์ทั้ง 3 ระบบ และนำมายึดกับเรซินคอมโพสิตโดยการอุดเป็นชั้น จากนั้นเก็บชิ้นงานในน้ำกลั่นที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ทำการตัดชิ้นงานให้เป็นรูปดัมเบลล์ นำไปทดสอบค่ากำลังแรงยึดดึงด้วยความเร็วหัวดึง 1 มิลลิเมตรต่อนาที นำชิ้นงานที่แตกหักมาส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ชนิดสเตอริโอ เพื่อแบ่งลักษณะความล้มเหลวที่เกิดขึ้น และบันทึกภาพด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอนชนิดส่องกราด จากนั้นนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติเปรียบเทียบโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และวิเคราะห์เชิงซ้อนด้วยวิธีทูกีย์ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 จากผลการศึกษาพบว่า กลุ่มรีลายเอ็กซ์ยูนิเซมร่วมกับแอดฮีซีฟเอ็กไซท์ดีเอสซี และกลุ่มซุปเปอร์บอนด์ซีแอนด์บี มีค่าเฉลี่ยกำลังแรงยึดดึงแตกต่างอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมีค่าสูงกว่ากลุ่มพานาเวียเอฟทู อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to evaluate microtensile bond strength of 3 resin cement systems; Superbond C&B, Panavia F 2.0 and Rely X Unicem with Adhesive Excite DSC on dentin soaked in 2.5% sodium hypochlorite solution for 3 minutes. By flattening human third molars to dentin surface depth and divided into 3 specimen groups. Bonded all 3 resin cements systems with resin composites by incremental filling. Consequently, specimen were stored in distilled water at 37 ℃ for 24 hrs. and sectioned into dumbbell shape to test for bond strength with a cross-head speed of 1 mm/min. The mode of failure specimens was categorized with stereomicroscope and captured their photos with scanning electron microscopy (SEM). The data were statistically analyzed with One-way ANOVA and Tukey Multiple Comparison (α = 0.05). The result shows that mean bond strength of Rely X Unicem with Adhesive Excite DSC and Superbond C&B were equal with no statistical difference and statistically higher than did Panavia F 2.0 system.en
dc.format.extent8145490 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.267-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคลองรากฟัน -- การรักษาen
dc.subjectโซเดียมไฮโปคลอไรด์en
dc.subjectเรซินทางทันตกรรมen
dc.subjectการยึดติดทางทันตกรรมen
dc.titleค่ากำลังแรงยึดดึงของเรซินซีเมนต์สามระบบกับเนื้อฟันที่ผ่านการแช่โซเดียมไฮโปคลอไรท์en
dc.title.alternativeTensile bond strength of three resin cement systems to dentin immersed in sodium hypochloriteen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineทันตกรรมประดิษฐ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorniyom.t@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.267-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
arunrat_mu.pdf9.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.