Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3116
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSaksith Chalermpong-
dc.contributor.authorKushari, Berlian-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineering-
dc.date.accessioned2006-10-05T11:44:07Z-
dc.date.available2006-10-05T11:44:07Z-
dc.date.issued2004-
dc.identifier.isbn9745313106-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3116-
dc.descriptionThesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2004en
dc.description.abstractSeveral major Southeast Asian cities are experiencing severe traffic congestion in their road networks that leads into the emergence of many multidimensional problems, such as air pollution and environmental degradation, substantial economic lost due to longer travel time, and psychologically distressing circumstances during daily trips. Many studies pointed out that this situation has a root in the disproportionate growth between the demand side and the supply side of transportation. In fact, some earlier studies of urban transportation system in ASEAN cities had suggested respective authorities to integrate Transportation Demand Management (TDM) into their urban development policies. Some measures were suggested to restrain ownership and use of private cars and to promote public modes of transportation in order to minimize such an imbalance. This study explores the past experiences of five ASEAN cities, namely Singapore, Bangkok, Jakarta, Kuala Lumpur, and Manila, in considering and implementing TDM in their urban transportation development. It begins with Singapore, which is widely known as a rare example where TDM successfully works in curbing congestion, and then moves to contrast experiences from the other cities. Recognizing the fact that TDM is hardly acceptable to the society, the study subsequently steps further into investigating potential explanatory factors pertaining to social feasibility of some TDM strategies in the study area, except Singapore. Focusing exclusively on car users, the study reveals that acceptability of some TDM measures in the study area could not be explained satisfactorily only on the basis of people's socioeconomic features. Some qualitative-psychological aspects, such as social norm, perceived effectiveness, and personal outcome expectation, problem awareness, and important mobility aims are found to play significant roles. Consequently, these aspects need to be considered for future TDM program implementations.en
dc.description.abstractalternativeหลายเมืองหลักของประเทศในแถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ประสบปัญหาการจราจรติดขัดในโครงข่ายถนนที่นำไปสู่ปัญหาที่ยุ่งยากอื่นๆ อีกมากมาย เช่น ปัญหามลพิษทางอากาศ และการเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม เสียโอกาสที่มีค่าทางเศรษฐกิจเนื่องจากการใช้เวลาเดินทางเป็นเวลานาน และสภาพจิตใจที่ย่ำแย่ของผู้เดินทางในแต่ละวัน มีหลายการศึกษาที่แสดงให้เห็นว่าสถานภาพของปัญหานี้มีรากฐานมาจากการเติบโตของเมืองที่ไม่ได้สัดส่วนระหว่างด้านอุปสงค์และด้านอุปทานในการขนส่ง ในความเป็นจริงเมื่อไม่นานมานี้มีบางการศึกษาของระบบการขนส่งในเมืองแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้มีการแนะนะให้ใช้การจัดการอุปสงค์การเดินทางในนโยบายการพัฒนาเมือง บางมาตรการถูกแนะนำให้จำกัดการครอบครองและการใช้รถยนต์ส่วนตัว และสนับสนุนให้ใช้ระบบขนส่งสาธารณะเพื่อลดความไม่สมดุลดังกล่าว จากการศึกษานี้พบว่าในประสบการณ์ที่ผ่านมาของเมืองในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5 เมือง ได้แก่ สิงคโปร์ กรุงเทพมหานคร จาการ์ตา กัวลาลัมเปอร์ และมะนิลา ที่ได้พิจารณาและนำการจัดการอุปสงค์การเดินทางมาใช้ในการวางแผนการขนส่ง โดยเริ่มที่สิงคโปร์ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่า ประสบความสำเร็จในการบรรเทาปัญหาจราจรติดขัด แต่เมื่อพิจารณาประสบการณ์จากเมืองอื่นๆ พบว่าส่วนมากไม่มีการยอมรับในมาตรการการจัดการอุปสงค์การเดินทางเท่าที่ควร การศึกษานี้จึงทำการตรวจสอบในเชิงลึกถึงปัจจัยต่างๆ ที่สามารถอธิบายสภาพการยอมรับมาตรการการจัดการอุปสงค์ในเมืองในพื้นที่ศึกษาเหล่านี้ยกเว้นสิงคโปร์ จากการพิจารณาเน้นเฉพาะผู้ใช้รถยนต์ส่วนตัว พบว่าคุณลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียวที่ไม่สามารถอธิบายการยอมรับในบางมาตรการในพื้นที่ศึกษาได้อย่างน่าพอใจสำหรับลักษณะด้านจิตวิทยาหลายประการ พบว่าส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อการยอมรับมาตรการจัดการอุปสงค์ ลักษณะด้านจิตวิทยาเหล่านี้ ได้แก่ การคล้อยตามสังคม การับรู้ประสิทธิภาพของมาตรการ และความคาดหวังถึงผลลัพธ์ส่วนบุคคล การตระหนักถึงปัญหา และการให้ความสำคัญต่อความคล่องตัวในการเดินทาง เป็นต้น ดังนั้นในการนำมาตรการการจัดการอุปสงค์การเดินทางไปปฏิบัติใช้ จำเป็นต้องพิจารณาถึงลักษณะทางจิตวิทยาเหล่านี้อย่างถ้วนถี่ด้วยen
dc.format.extent1621269 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenen
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectTransportation demand management--Asia, Southeasternen
dc.titleComparative study of transportation demand management policies in some Southeast Asian cities: past experiences, social feasibility, and future prospectsen
dc.title.alternativeการศึกษาเปรียบเทียบนโยบายจัดการอุปสงค์การเดินทางในเมืองต่างๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ :ประสบการณ์ในอดีต ความเป็นไปได้ทางสังคม และการนำไปใช้ในอนาคตen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameMaster of Engineeringen
dc.degree.levelMaster's Degreeen
dc.degree.disciplineCivil Engineeringen
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorfcescp@eng.chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
BerlianKu.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.