Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31369
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพวงรัตน์ บุญญานุรักษ์
dc.contributor.authorอารี ชีวเกษมสุข
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-05-26T08:35:14Z
dc.date.available2013-05-26T08:35:14Z
dc.date.issued2534
dc.identifier.isbn9745789054
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31369
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบหมุนเวียนสมดุล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา และเปรียบเทียบประสิทธิผลการบันทึกโดยใช้รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลที่บูรณาการกระบวนการพยาบาลกับรูปแบบที่มุ่งปัญหา แบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 2 ประเภท คือ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 44 คน และแบบบันทึกจำนวน 205 ชุด เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง มี 9 ชุด ได้แก่ สถานการณ์จำลองเกี่ยวกับผู้รับบริการแบบประเมินผลความสามารถในการบันทึก รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลที่บูรณาการกระบวนการพยาบาล รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลที่มุ่งปัญหา แบบตรวจสอบความครอบคลุมตามกระบวนการของการบันทึกเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ แบบตรวจสอบความถูกต้องตามเนื้อหาการบันทึก แบบตรวจสอบความต่อเนื่องของการบันทึก และแบบสอบถามความง่ายในการบันทึก ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเที่ยงแล้ว ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความครอบคลุมตามกระบวนการของการบันทึก ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมทั้งความถูกต้องตามเนื้อหาการบันทึกของรูปแบบที่บูรณาการกระบวนการพยาบาลกับรูปแบบ ที่มุ่งปัญหา ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 2.การใช้รูปแบบที่บูรณาการกระบวนการพยาบาล มีค่าเฉลี่ยของคะแนนความต่อเนื่องของการบันทึกมากกว่ารูปแบบที่มุ่งปัญหา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3.รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลที่มุ่งปัญหา มีค่าเฉลี่ยของคะแนนความง่ายในการบันทึกมากกว่ารูปแบบที่บูรณาการกระบวนการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4.ค่าเฉลี่ยของคะแนนความง่ายในการบันทึกโดยใช้รูปแบบการบันทึกทั้ง 2 รูปแบบของ พยาบาลแผนกอายุรกรรม ศัลยกรรม และสูติ-นรีเวชกรรม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5.ค่าเฉลี่ยของคะแนนความง่ายในการบันทึกโดยใช้รูปแบบการบันทึกทั้ง 2 รูปแบบ ของพยาบาลที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน 1-5 ปี มากกว่าพยาบาลที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานมากกว่า 5 ปีขึ้นไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.description.abstractalternativeThis research was a counterbalanced design or rotation quasi - experiment aimed to compare recording effectiveness by using integrated nursing process and problem-oriented record models. Forty-four professional nurses and two hundred and five patient charts were selected as the samples. The research instruments were the written simulation; the recording ability questiounaire; patient record forms (Inteqrated nursing process model and Problem-oriented model); quantity and quality completeness checklist and manual; recording content review checklist; recording continuation and manual and convenient review checklist; which have been tested for content validity and reliability. The major findings were: 1.There was no statistical significant difference in mean score of recording quantity, quality and content correctness in the two recording models at .05 level. 2. The mean score of recording continuation in the integrated nursing process recording model was higher than the problem-oriented recording model at the .01 significant level.3.The mean score of recording convenience in the problem-oriented recording model was higher than the integrated nursing process recording model at the .05 significant level. 4. There were no statistical significant differences of the mean score in recording convenience of the two recording models using at medical, surgical, and obstetric and gynecological departments at .05 level. 5. Nurses with 1-5 years to demonstrated higher mean score in recording convenience using the two recording models than those whose work experience longer than 5 years at .05 significant level.
dc.format.extent3456988 bytes
dc.format.extent8353491 bytes
dc.format.extent23548857 bytes
dc.format.extent8992446 bytes
dc.format.extent5454390 bytes
dc.format.extent10613908 bytes
dc.format.extent36653408 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบประสิทธิผลการบันทึก โดยใช้รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาล ที่บูรณาการกระบวนการพยาบาลกับรูปแบบที่มุ่งปัญหาen
dc.title.alternativeA comparison of recording effectiveness by using integrated nursing process and problem-oriented nursing record modelsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aree_ch_front.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ch_ch1.pdf8.16 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ch_ch2.pdf23 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ch_ch3.pdf8.78 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ch_ch4.pdf5.33 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ch_ch5.pdf10.37 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ch_back.pdf35.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.