Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31466
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุกรี รอดโพธิ์ทอง-
dc.contributor.advisorเกษมศักดิ์ ภูมิศรีแก้ว-
dc.contributor.authorเพ็ญนิดา ตุลวรรธนะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-05-28T05:21:15Z-
dc.date.available2013-05-28T05:21:15Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745786721-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31466-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับทัศนคติของครูต่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในโรงเรียนมัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือครูที่สอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 สังกัดกรมสามัญศึกษา และสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จำนวน 1,835 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่สร้างขึ้นโดยผู้วิจัยได้รับการตรวจจากอาจารย์ด้านโสตทัศนศึกษา 1 ท่าน และอาจารย์ด้านจิตวิทยาอีก 1 ท่านและถูกนำไปทดลองใช้กับครูโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย และโรงเรียนทิวไผ่งาม ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามไปเก็บข้อมูลจากครูระดับมัธยมศึกษาด้วยตนเอง ได้รับแยยสอบถามคืน 1.602 ฉบับ และคัดเลือกจนเหลือฉบับที่สมบูรณ์พอที่จะนำมาวิเคราะห์ข้อมูลได้จำนวน 1,464 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 79.78 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนของทัศนคติ : ความรู้ ความพึงพอใจและการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อวิเคราะห์ความแปรปรวนจำแนกตามสถานภาพ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์บริหาร วิชาที่สอน และระดับชั้นที่สอนเป็นปัจจัยที่สัมพันธ์กับทัศนคติของครูต่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study factors relating to teachers’ attitudes towards computer-assisted instruction (CAI) in secondary schools in Bangkok Metropolis. The sample consisted of 1835 lower and upper secondary school teachers randomly selected from school teachers under the jurisdiction of the Department of General Education and the Office of Private Education Commission. A survey questionnaire was constructed by the researcher, evaluated by an audio-visual instructor and a psychological instructor, and tried out at Trimitr Vidhayalai School and Tewpaingam School. Questionaires were returned by 1602 participants. Incomplete or unsuable ones were removed, leaving 1464 questionaires (79.79%) for data analysis. Methods of analysis consisted of frequency distribution, percentage, mean and standard deviation, correlation coefficient, and analysis of varience. The results of the data analysis indicated that the 3 components of attitudes towards CAI : knowledge, satisfaction, and behavior of using CAI were correlated. By using the analysis of varience the findings revealed that there was significantly difference at .05 level in age, educational background, administration experience, subject of teaching, and class level.-
dc.format.extent933135 bytes-
dc.format.extent842880 bytes-
dc.format.extent2474462 bytes-
dc.format.extent829593 bytes-
dc.format.extent1302590 bytes-
dc.format.extent1313182 bytes-
dc.format.extent1493925 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleปัจจัยที่สัมพันธ์กับทัศนคติของครูต่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในโรงเรียนมัธยมศึกษา กรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeFactors relating to teachers' attitudes towards computer- assisted instruction in secondary schools, Bangkok metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phennida_tu_front.pdf911.26 kBAdobe PDFView/Open
Phennida_tu_ch1.pdf823.12 kBAdobe PDFView/Open
Phennida_tu_ch2.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open
Phennida_tu_ch3.pdf810.15 kBAdobe PDFView/Open
Phennida_tu_ch4.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open
Phennida_tu_ch5.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open
Phennida_tu_back.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.