Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31538
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมเอก อินทนากรวิวัฒน์-
dc.contributor.authorขวัญจิรา นาคเดช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-05-29T04:18:10Z-
dc.date.available2013-05-29T04:18:10Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31538-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractปัจจุบัน ความต้องการในการเข้าถึงข้อมูลไลฟ์สตรีมมิ่ง โดยผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีแนวโน้มที่มากขึ้น และจากข้อจำกัดของเซิร์ฟเวอร์ที่ไม่สามารถรองรับผู้ขอรับบริการที่มีจำนวนมากขึ้นได้ การนำเครือข่ายเพียร์ทูเพียร์มาช่วยในการกระจายข้อมูลไลฟ์สตรีมมิ่งจึงมีประโยชน์อย่างมาก โดยจากการศึกษาพบว่าการกระจายข้อมูลแบบผลักจะช่วยลดความหน่วงในการกระจายข้อมูลได้ และการกระจายข้อมูลบนโอเวอร์เวย์ตาข่ายมีข้อดีมากมาย อาทิ โครงสร้างของโอเวอร์เลย์ที่ไม่ซับซ้อน ง่านต่อการสร้างและดูแล คงทนต่อการเปลี่ยนแปลงของเน็ตเวิร์ค ข้อมูลที่ส่งบนโอเวอร์เลย์ตาข่ายได้คุณภาพสูงดังนั้น งานวิจัยนี้ ได้นำข้อดีของการกระจายข้อมูลแบบผลัก และโอเวอร์เลย์ตาข่ายมาใช้ แต่อย่างไรก็ตาม การผลักข้อมูลบนโอเวอร์เลย์ตาข่ายทำให้โหนดผู้รับได้ชิ้นข้อมูลซ้ำ ซึ่งเป็นปัญหาที่วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้เสนอวิธีการแก้ไข วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้เสนอการออกแบบเพื่อช่วยลดข้อมูลซ้ำที่เกิดขึ้น สำหรับการส่งข้อมูลไลฟ์สตรีมมิ่งแบบผลัก ร่วมกับการดึงหากมีข้อมูลสูญหาย บนโอเวอร์เลย์ตาข่าย ผู้วิจัยได้ออกแบบ และเสนอวิธี Reinforcement-based ซึ่งทำให้ข้อมูลซ้ำที่เกิดขึ้นในระบบลดลง เป็นผลทำให้การแบนด์วิทที่สูญเสียไปกับข้อมูลที่ไม่เป็นประโยชน์ลดลงด้วย การทดลอง ได้ใช้โปรแกรมจำลอง NS-2.34 บนสถานการณ์เสมือนจริง ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า วิธีการที่นำเสนอทำให้เกิดข้อมูลซ้ำในระบบลดลงen
dc.description.abstractalternativeThe demand of accessing live streaming data is increasing but server bandwidth can’t support all users. Peer-to-peer network is useful for distributing live streaming data. The study found that pushing data can reduce dissemination delay and mesh overlay has many advantages such as, the uncomplicated overlay structure, easy to maintenance and construct, high tolerant. Data that transmitted is also high quality over mesh overlay. This thesis proposed algorithm that takes the advantage of pushing data and mesh overlay. However, pushing data over mesh overlay causes duplicate data at receiver. This is the problem that this thesis proposed the solution. This thesis propose the algorithm for decrease the duplicate data that is occurred from pushing data over mesh. And pull the data if data loss. We design and propose Reinforcement-based that reduce the duplicated data and decrease bandwidth used in transferring unused data. We use the simulator NS-2.34 to test our protocol. The results show that the protocol can greatly reduce the duplicated data in system.en
dc.format.extent1900802 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.285-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสถาปัตยกรรมแบบเพียร์ทูเพียร์ (เครือข่ายคอมพิวเตอร์)en
dc.subjectเทคโนโลยีการส่งข้อมูลอัตโนมัติen
dc.subjectโปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์ -- การออกแบบen
dc.subjectเทคโนโลยีสตรีมมิ่ง (โทรคมนาคม)en
dc.subjectระบบสื่อสารข้อมูลen
dc.titleการส่งข้อมูลไลฟ์สตรีมแบบเพียร์ทูเพียร์โดยใช้วิธีการแบบผลัก และดึงด้วยความน่าจะเป็นen
dc.title.alternativePeer-to-peer live data streaming using a probabilistic push-pull approachen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorintanago@cp.eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.285-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kwanjira_na.pdf1.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.