Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31550
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสาร มาลากุล ณ อยุธยา-
dc.contributor.advisorชุมพร ยงกิตติกุล-
dc.contributor.authorเพ็ญพิศุทธิ์ เนคมานุรักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-05-29T05:45:24Z-
dc.date.available2013-05-29T05:45:24Z-
dc.date.issued2537-
dc.identifier.isbn9745842261-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31550-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาครูตามรูปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาครู ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2536 ในวิทยาลัยครูเชียงรายจำนวน 42 คน ผู้วิจัยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่มด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่ายกลุ่มละ 21 คน คือ กลุ่มทดลองที่ได้รับการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยใช้รูปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น และกลุ่มควบคุมที่ได้รับการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยใช้วิธีการสอนตามปกติ แต่ละกลุ่มจะได้รับการฝึก 10 ครั้ง ๆ ละ ประมาณ 2 ชั่วโมง ในระยะเวลา 5 สัปดาห์ เป็นการวิจัยแบบที่มีกลุ่มควบคุมแบบสุ่มและมีการทดสอบก่อนและหลัง (Pretest – Posttest Control Group Design) การเก็บรวบรวมข้อมูลจากทั้งสองกลุ่มแบ่งออกเป็น 3 ระยะโดยใช้แบบสอบถามการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ได้แก่ การทดสอบก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และระยะติดตามผล แล้วนำข้อมูลที่ได้จากการทดสอบทั้ง 3 ระยะของทั้งสองกลุ่มมาวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทางแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า 1. นักศึกษากลุ่มทดลองที่ใช้รูปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณมีคะแนนเฉลี่ยของการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 2. นักศึกษากลุ่มทดลองที่ใช้รูปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณมีคะแนนเฉลี่ยของการคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงกว่านักศึกษากลุ่มควบคุมที่ใช้การสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 3. ไม่พบความแตกต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยของการคิดอย่างมีวิจารณญาณภายหลังการทดลองกับระยะติดตามผล ของนักศึกษากลุ่มทดลองที่ใช้รูปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to develop critical thinking of teachers college students by the Critical Thinking Developing Model developed by the researcher. The subjects comprised of 42 teachers college students of Chiengrai Teachers College registered in the second semester. The students were randomly sampled into two groups of 21 students in each group. The students in the experimental group were trained to think critically by the Critical Thinking Developing Model while the students in the control group were trained by conventional teaching. Each group was trained for 10 sessions, 2 hours for each, within 5 weeks. All subjects were tested by Critical Thinking Test developed by the researcher before and after the training periods and at the end of the follow up period. The testing scores were analyzed by using the Two-way ANOVA with Repeated Measures. The results were as follows : 1. The students in the experimental group obtained higher post-test scores than pretest scores at .001 significance level. 2. The students in the experimental group obtained higher scores for the post-test than those in the control group at .001 significance level. 3. No significant difference was found between the post-test scores and the follow up scores for the experimental group.-
dc.format.extent1049188 bytes-
dc.format.extent1307097 bytes-
dc.format.extent7400769 bytes-
dc.format.extent2292739 bytes-
dc.format.extent1157393 bytes-
dc.format.extent2137670 bytes-
dc.format.extent10707240 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการพัฒนารูปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนักศึกษาครูen
dc.title.alternativeThe development of critical thinking developing model for teachers college studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Penpisuth_ne_front.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Penpisuth_ne_ch1.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open
Penpisuth_ne_ch2.pdf7.23 MBAdobe PDFView/Open
Penpisuth_ne_ch3.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open
Penpisuth_ne_ch4.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Penpisuth_ne_ch5.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open
Penpisuth_ne_back.pdf10.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.