Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31575
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริชัย ศิริกายะ | - |
dc.contributor.author | เพ่ยหลิน ลิน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-05-29T07:42:19Z | - |
dc.date.available | 2013-05-29T07:42:19Z | - |
dc.date.issued | 2537 | - |
dc.identifier.isbn | 9745842257 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31575 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงภาพยนตร์โฆษณาสินค้าและการบริการในระดับภูมิภาคเอเชียในปัจจุบันมีลักษณะความเป็นโลกเดียวกัน ความเป็นภูมิภาค ความเป็นสากล และความเป็นท้องถิ่นผสมผสานกันตามแนวคิดที่ว่า การโฆษณาสากลในระดับภูมิภาคนั้นต้องใช้กลยุทธ์สร้างสรรค์ในการคิดในระดับท้องถิ่น และปฏิบัติในระดับสากล จึงสามารถสื่อสารกับผู้บริโภคที่มีความหลากหลายอย่างมากในด้านวัฒนธรรม ศาสนา และภาษา แต่มีรูปแบบชีวิตในบริบทวัฒนธรรมผู้บริโภคภายใต้ทุนนิยมที่คล้ายคลึงกัน ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ในการศึกษาคือการวิจัยเชิงคุณภาพ และแนวคิดสำคัญที่ใช้ในการศึกษาได้แก่แนวคิดวัฒนธรรมผู้บริโภค แนวคิดโฆษณาสากล สัญญะวิทยาและกระบวนการสร้างความหมาย ทั้งนี้ผลของการวิจัยสรุปได้ดังนี้ งานโฆษณาสินค้าและการบริการในระดับสากลที่เผยแพร่ภาพผ่านดาวเทียมของภูมิภาคเอเชียสร้างความหมายโดยการใช้สัญญะต่างๆ ในวิธีการสร้างความหมาย 4 ประการดังต่อไปนี้ 1. การสร้างควาหมายโดยการใช้สัญญะต่างๆ ในระดับท้องถิ่นที่แพร่หลายที่เป็นที่รู้จักต่อเจ้าของสัญญะในท้องถิ่น และในระดับสากลในเอเชีย 2. การสร้างความหมายโดยการหลีกเลี่ยงข้อจำกัดต่างๆ ของแต่ละประเทศท้องถิ่น ในด้านกรอบวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ การเมืองภาษาและศาสนา และใช้สัญญะต่างๆ ที่บ่งบอกถึงความเป็นลักษณะร่วม และประสบการณ์ร่วมของมนุษย์ทั้งปวง ที่อยู่เหนือเขตขวางกั้นระหว่างพรมแดนที่คนทั่วโลกรู้จัก ยอมรับ และเกิดขึ้นเหมือนกันทั่วโลก เป็นการสร้างความหมายโดยใช้ลักษณะต่างๆ ของสภาพแวดล้อม ธรรมชาติ สัญชาตญาณของมนุษย์ และลักษณะต่างๆ ที่ได้รับจากการเรียนรู้ในระดับสากลจนกลายเป็นลักษณะร่วมสากลของมนุษย์ 3. การสร้างความหมายโดยการใช้สัญญะต่างๆ ที่เป็นตัวบ่งชี้ถึงลักษณะร่วมและประสบการณ์ร่วมของผู้คนหรือกลุ่มผู้บริโภคในภูมิภาคเอเชีย เป็นบริบทร่วมบนพื้นฐานของความเป็นสากลของผู้รับสารในภูมิภาค และวัฒนธรรมผู้บริโภคในระดับสากล ซึ่งผู้คนส่วนมากในท้องถิ่นต่างๆ รู้จัก เข้าใจ และยอมรับ 4. การสร้างความหมายโดยการคำนึงถึงความเป็นหนึ่งเดียว ความสัมพันธ์ การร่วมมือกันของคนทั่วโลก และสร้างให้เกิดหน้าที่ความรับผิดชอบร่วมกันโดยการสร้างความหมายผ่านทางสัญญะต่างๆที่บ่งชี้ถึงความเป็นโลกเดียวกัน | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to find out whether global, international, regional, and local characteristics appear in the satellite commercial advertisements via STAR TV. It is to prove that the “Think locally, and act globally” strategy is being employed in the creative strategies of satellite advertising, so that international message is being sent effectively across national boundaries in the Asia region, a place at which great diversities in language, religion, and culture are the predominant features. However, similarities among nations exist in the realm of consumer culture which are the results of a global economy. This research is conducted by using qualitative research method. The research is based on concepts of consumer culture, international advertising, semiology and signification. The research findings are concluded as the following. 1. The construction of meaning by using internationally recognized local signs in Asia. (International local signs approach) 2. The construction of meaning by avoiding all local signs ( which include the historical, social, political, religion, language and economical aspects ) and presents the message by focusing on the internationally shared signs that mark the features of the natural environment, human instinct, and learned culture which is happening on a global scale. (Universal approach) 3. The construction of meaning by using all kinds of signs which are the indicators of the common characteristics and experiences of the Asian consumers. These signs reflect the consumer culture and consumer nature that are apparent on the international scene. (Consumer culture approach) 4. The construction of meaning through a common vision which deems association, cooperation, relation, and oneness of the world as significant. It is a global consideration in the creation of advertising message that is an effort to create a shared understanding, role, or responsibility. (Global approach) | - |
dc.format.extent | 892355 bytes | - |
dc.format.extent | 1287799 bytes | - |
dc.format.extent | 1521922 bytes | - |
dc.format.extent | 1088471 bytes | - |
dc.format.extent | 3487657 bytes | - |
dc.format.extent | 1136735 bytes | - |
dc.format.extent | 668635 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การวิเคราะห์ภาพยนตร์โฆษณาโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมของภูมิภาคเอเซียทาง "สตาร์ทีวี" | en |
dc.title.alternative | An analysis of satellite TV. advertisements in asia via "Star TV" | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การสื่อสารมวลชน | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pel_li_front.pdf | 871.44 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pel_li_ch1.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pel_li_ch2.pdf | 1.49 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pel_li_ch3.pdf | 1.06 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pel_li_ch4.pdf | 3.41 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pel_li_ch5.pdf | 1.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pel_li_back.pdf | 652.96 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.