Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31899
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเก็จวลี พฤกษาทร-
dc.contributor.authorจักรพงศ์ ศิริประสมทรัพย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-04T07:38:52Z-
dc.date.available2013-06-04T07:38:52Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31899-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาผลขององค์ประกอบของสารเคลือบที่มีต่อสมบัติการต้านทานการกัดกร่อนและการนำกระแสไฟฟ้าของแผ่นโลหะเคลือบคาร์บอน/เรซินคอมพอสิต โดยใช้ผงแปรงถ่านเป็นองค์ประกอบหลักและใช้สารตัวเติมเป็นท่อนาโนคาร์บอนที่มีค่าการนำไฟฟ้าต่างกัน ร่วมกับตัวประสานคือซิงก์เรซิน (Zinc resin) และอะคริดิกเรซิน (Acrydic resin) องค์ประกอบรวมของการเคลือบคือ ผงแปรงถ่าน เรซิน และตัวทำละลาย ร้อยละ 20 30 และ 50 ตามลำดับ โดยใช้วิธีสเปรย์ในการเคลือบผิวโลหะที่ความหนาของฟิล์มระหว่าง 0.09 ถึง 0.11 มิลลิเมตร และศึกษาท่อนาโนคาร์บอนในช่วงร้อยละ 1- 5 โดยน้ำหนักในการแทนที่ตัวทำละลาย จากผลการทดลองพบว่า การใช้ซิงก์เรซิน (Zinc resin) จะมีค่าความต้านทานเชิงสัมผัสต่ำกว่าอะคริดิกเรซิน (Acrydic resin) แต่ค่าการกัดกร่อนสูงกว่า ส่วนค่าความต้านทานเชิงสัมผัสมีค่าลดลงเมื่อการเติมท่อนาโนคาร์บอนในปริมาณร้อยละ 0- 2 โดยน้ำหนัก การเติมท่อนาโนคาร์บอนที่มีสภาพนำไฟฟ้าสูง (100 ซีเมนต์ต่อเซนติเมตร) ส่งผลให้สมบัติของฟิล์มที่เคลือบดีที่สุด เมื่อปริมาณท่อนาโนคาร์บอนเพิ่มขึ้นทำให้สภาพนำไฟฟ้า การต้านทานการกัดกร่อนและการยึดติดของฟิล์มที่เคลือบมีแนวโน้มต่ำลงทั้งเรซิน 2 ชนิด การเติมท่อนาโนคาร์บอนชนิด 100 ซีเมนต์ต่อเซนติเมตร ร้อยละ 2 โดยน้ำหนักในการเคลือบด้วยซิงก์เรซินและอะคริดิกเรซิน ให้ค่าความต้านทานเชิงสัมผัส 4 และ 35 มิลลิโอห์มตารางเซนติเมตร และค่ากระแสกัดกร่อน 6 และ 0.5 ไมโครแอมป์ต่อตารางเซนติเมตร ตามลำดับ พบว่าให้ค่ากระแสกัดกร่อนต่ำกว่าแผ่นโลหะที่ไม่ได้เคลือบ เมื่อนำแผ่นโลหะเคลือบด้วยซิงก์เรซินไปใช้ในเซลล์เชื้อเพลิง ให้ค่าความหนาแน่นกระแสไฟฟ้า 325.2 มิลลิแอมแปร์ต่อตารางเซนติเมตร และแผ่นโลหะเคลือบด้วยอะคริดิกเรซินให้ค่าความหนาแน่นกระแสไฟฟ้า 259 มิลลิแอมแปร์ต่อตารางเซนติเมตร ซึ่งน้อยกว่าชุดเซลล์เชื้อเพลิงเดี่ยวที่ใช้แผ่นนำกระแสไฟฟ้าชนิดแกรไฟต์เชิงพาณิชย์ (395.4 มิลลิแอมแปร์ต่อตารางเซนติเมตร) ที่ความต่างศักย์ 0.6 โวลต์en
dc.description.abstractalternativeThis research was to study the effect of composition in coating layer on corrosion protection and electronically conductive of SUS 304 stainless steel coated by carbon/resin composite. The carbon base is carbon brush powder. The additive is carbon nanotubes. Zinc resin and acrydic are used as a binder. The studied parameter was amount of carbon nanotubes (CNTs) 1-5 wt% in carbon/resin composite layers. The composition of coating was 20 wt% of carbon, 30 wt% of resin and 50 wt% of solvent. The spray technique is used to coat carbon composite on the stainless steel. The results were shown that zinc resin binder gave lower interfacial contact resistance (ICR) than acrydic resin, but corrosion rate is higher. The ICR decreased when CNTs were added until 2 wt%. The addition of 3 types of CNTs, high conductivity CNTs (100 S/cm) revealed the best condition for metal coated carbon/resin composite. The corrosion resistance and adhesion of coating film had lower trend in both of resins when CNTs were added over 2 wt%. Addition of CNTs 2 wt%, the ICR at 200 lbf.in tightening force was 35 and 4 mΩcm² when acrydic resin and zinc resin were used, respectively. Corrosion rate of zinc and acrydic resin were 6 and 0.5 µA/cm², respectively. When coated metal plate with zinc resin and acrydic resin were used in fuel cell, current density were 325.2 mA/cm² and 259 mA/cm², respectively. This was less than commercial graphite plate of 395.4 mA/cm².en
dc.format.extent2280298 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1354-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเซลล์เชื้อเพลิงชนิดเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอนen
dc.subjectเหล็กกล้าไร้สนิมen
dc.subjectคาร์บอนen
dc.subjectท่อนาโนen
dc.subjectProton exchange membrane fuel cellsen
dc.subjectStainless steelen
dc.subjectCarbonen
dc.subjectNanotubesen
dc.titleผลขององค์ประกอบของคาร์บอน/เรซินคอมพอสิตต่อสมบัติของแผ่นโลหะเคลือบสำหรับเซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็มen
dc.title.alternativeEffects of composition of carbon/resin composite on coated metal plate properties for pem fuel cellen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีเชื้อเพลิงes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorkejvalee@sc.chula.ac.th, Kejvalee.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1354-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jakrapong_si.pdf2.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.