Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31946
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ขวัญใจ สมิธ | |
dc.contributor.author | อัจฉราภินันท์ คงคาน้อย | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-06-04T10:39:18Z | |
dc.date.available | 2013-06-04T10:39:18Z | |
dc.date.issued | 2531 | |
dc.identifier.isbn | 9745692646 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31946 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเสนอข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับแบบแผนของการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคของกลุ่มอาชีพที่ใช้แรงงาน กลุ่มอาชีพระดับกลางและกลุ่มอาชีพระดับสูงในเขตกรุงเทพมหานคร เขตเมืองและเขตชนบท พร้อมทั้งหาเส้นวัดความยากจนหรือขีดความจนซึ่งถือเป็นขอบเขตสูงสุดที่กำหนดระดับความยากจนได้ ผลการวิจัยพบว่า มีเส้นความยากจนในหลายระดับในแต่ละกลุ่มอาชีพที่แตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ซึ่งเส้นความยากจนจะมีค่าสูงสุดในกลุ่มอาชีพระดับสูงและต่ำสุดในกลุ่มอาชีพที่ใช้แรงงาน แต่มีข้อที่น่าสังเกตคือ เส้นความยากจนที่คำนวณได้ในเขตกรุงเทพมหานครไม่มีความแตกต่างกันมากนัก ทั้งนี้อาจะเป็นไปได้ว่ามาตรฐานการครองชีพในเขตกรุงเทพมหานครมีค่าสูง ดังนั้นไม่ว่าจะอยู่ในกลุ่มอาชีพใดก็จะเผชิญกับมาตรฐานดังกล่าวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากนี้เมื่อเปรียบเทียบเส้นวัดความยากจนกับค่าจ้างขั้นต่ำแล้วจะไม่แตกต่างจากมาตรฐานที่เป็นจริงเท่าใดนัก ซึ่งทำให้ค่าขีดความยากจนที่คำนวณได้ให้ผลที่น่าพอใจและได้มองไปถึงแบบแผนของการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคในแต่ละกลุ่มอาชีพด้วย งานวิจัยนี้มีข้อจำกัดคือ ตัวแบบที่ใช้ศึกษามีลักษณะเป็นตัวแบบเชิงเส้นตรง เมื่อนำมาใช้กับข้อมูลภาคตัดขวางที่มีการกระจายในรายได้ต่างกันมาก จึงทำให้ผลการประมาณค่าจากตัวแบบดังกล่าวไม่สะท้อนให้เห็นผลการคำนวณค่าสถิติบางค่าอยู่ในระดับที่น่าพอใจนัก นอกจากนี้ยังได้แบ่งกลุ่มอาชีพที่ศึกษาอย่างคร่าว ๆ จึงทำให้การประมาณค่าต่าง ๆ คลาดเคลื่อนไปจากมาตรฐานที่เป็นจริงเท่าที่ควร | |
dc.description.abstractalternative | This research had the objective of presenting economic information for pattern of consumption expenditure for various groups of people i.e. laboring class, medium class and professional high class in the Bangkok metropolitan areas, urban and rural areas. The study also estimated the poverty lines which were defined as the maximum levels of consumption of poor. The research results indicated different level of poverty lines for various groups of people. The maximum poverty line was found in the high professional class and the minimum poverty line was found in the laboring class. It was interesting to note that there were not significant difference among poverty lines calculated for Bangkok. This might be attributed to relatively higher standard of living in Bangkok. No matter in what group the people were, they had to face the same standard of living. In addition, there was no significant difference between the poverty line and the minimum wage level. This made the calculated poverty line looked more plausible and could be used to analyse the pattern of consumption for different groups of people. However, there were some limitations arising from linearity of the model. The application of such model to dispersed cross-section data failed to produce some satisfactory statistical results. Moreover, error in estimation might come from broad occupational classification. | |
dc.format.extent | 6446418 bytes | |
dc.format.extent | 3946567 bytes | |
dc.format.extent | 7575881 bytes | |
dc.format.extent | 12942009 bytes | |
dc.format.extent | 17009112 bytes | |
dc.format.extent | 3028336 bytes | |
dc.format.extent | 19394295 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | แบบแผนของการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคของครัวเรือนไทยกับระดับความยากจน | en |
dc.title.alternative | Pattern in Thai Household Expenditure and the Poverty Level | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เศรษฐศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Atcharapinun_go_front.pdf | 6.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Atcharapinun_go_ch1.pdf | 3.85 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Atcharapinun_go_ch2.pdf | 7.4 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Atcharapinun_go_ch3.pdf | 12.64 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Atcharapinun_go_ch4.pdf | 16.61 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Atcharapinun_go_ch5.pdf | 2.96 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Atcharapinun_go_back.pdf | 18.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.