Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32098
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตติน แตงเที่ยง-
dc.contributor.authorวิศิษฎ์ ชูประเสริฐ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-10T02:12:33Z-
dc.date.available2013-06-10T02:12:33Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32098-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาถึงการประเมินความสามารถในการนำความร้อนปล่อยทิ้งจากระบบทำน้ำเย็นภายในอาคารกลับมาผลิตน้ำร้อน ด้วยวิธีการสร้างแบบจำลองและตรวจวัดข้อมูลจากระบบทำน้ำเย็นของโรงพยาบาลต้นแบบ แล้วนำผลจากการทดลองนั้นมาขยายผลเพื่อประเมินความสามารถในการผลิตน้ำร้อนของโรงพยาบาลต้นแบบ ภายในแบบจำลองประกอบด้วยระบบทำน้ำเย็นขนาด 8.45 kW, ระบบทำน้ำร้อนโดยตรง และระบบการทำน้ำร้อนโดยใช้ปั๊มความร้อน ในการทดลองได้ทำการควบคุมอัตราการไหลของน้ำร้อน และควบคุมภาระการทำความเย็นของระบบทำความเย็นเพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมต่างๆ ของระบบทำความเย็น ผลจากการประเมินเมื่อใช้ระบบทำน้ำร้อนโดยตรงนั้น ระบบทำน้ำเย็นของโรงพยาบาลต้นแบบจะใช้กำลังไฟฟ้าในการอัดไอลดลงร้อยละ 11.84 และค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะของระบบทำความเย็นก็มีค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.45 เมื่อเทียบกับระบบทำน้ำเย็นของโรงพยาบาลต้นแบบเดิม อุณหภูมิน้ำร้อนที่ผลิตได้จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 43.20°C และเมื่อทำการประเมินข้อมูลเดียวกันนี้ แต่ใช้ระบบทำน้ำร้อนร่วมกับปั๊มความร้อนนั้น จะพบว่ากำลังไฟฟ้าที่ใช้ในเครื่องอัดไอของระบบทำความเย็นจะมีค่าลดลงร้อยละ 18.61 และค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะของระบบทำความเย็นก็จะมีค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 29.49 เมื่อเปรียบเทียบกับระบบทำน้ำเย็นเดิม และอุณหภูมิน้ำร้อนที่ผลิตได้จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 51.57°C แต่เนื่องจากมีการติดตั้งระบบปั๊มความร้อนเพิ่มเข้าไปนั้นจึงจำเป็นต้องใช้กำลังไฟฟ้าในการอัดไอของระบบปั๊มความร้อนเป็น 12.36 kW มีค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะของระบบปั๊มความร้อนเป็น 6.3en
dc.description.abstractalternativeThis research relates to the evaluation on the energy efficient by using the waste heat recovery system on the chiller used for an air-conditioning unit to generate hot water by construction unit modeled and includes assessment data from the hospital building. This results obtained from the experiment unit will be apply to predict the performance of hot water production from the chiller system after installing the waste heat recovery system. The experimental unit includes a chilled-water system of 8.45 kW, the direct hot water production from waste heat recovery system and the hot water production from waste heat recovery with heat pump. In this project, flow rate of hot water and cooling load of the chiller have been controlled to examine the behavior of chiller system. When the experimental results are extended to predict the behavior of the chiller at the hospital. This study shows that, when the direct heating system was used, the power of compressor is reduced by 11.84%, and the coefficient value of the chiller system is increased by 18.45% compared to the old system. The temperature of hot water which produced from this system is 43.20°C. On the other hand, when the heating system with heat pump is used, the power of compressor and the coefficient value of chiller system is reduced by 18.61% and is increased by 29.49% from original unit respectively. The temperature of hot water produced from this system is 51.57°C. However, this system requires an extra compressor, thus the power of the extra compressor is 12.36 kW and the COP of this system is 6.30.en
dc.format.extent2039338 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.318-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแหล่งพลังงานen
dc.subjectการพัฒนาพลังงานen
dc.subjectการนำความร้อนกลับมาใช้en
dc.subjectความร้อนเหลือทิ้งen
dc.subjectการอนุรักษ์พลังงานen
dc.subjectPower resourcesen
dc.subjectEnergy developmenten
dc.subjectWaste heaten
dc.subjectEnergy conservationen
dc.subjectHeat recoveryen
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานโดยการนำความร้อนปล่อยทิ้งจากระบบทำน้ำเย็นกลับมาใช้en
dc.title.alternativeImprovement of energy efficiency by reclaiming heat from a water chiller systemen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfmectt@eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.318-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wisit_ch.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.