Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32146
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชวลิต รัตนธรรมสกุล | - |
dc.contributor.author | อรวรรณ วัฒนยมนาพร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-06-12T04:37:31Z | - |
dc.date.available | 2013-06-12T04:37:31Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32146 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 | en |
dc.description.abstract | การหมักร่วมของขยะเศษอาหารกับกากตะกอนน้ำเสียชุมชน โดยใช้ถังหมักไร้อากาศแบบสองขั้นตอนสำหรับผลิตก๊าซชีวภาพ ประกอบด้วยถังหมักกรด และถังหมักก๊าซ โดยแบ่ง การทดลองออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ การทดลองเพื่อศึกษาผลของอัตราส่วนของขยะเศษอาหารกับ กากตะกอนน้ำเสียชุมชนในระดับห้องปฏิบัติการ และการศึกษาผลของระยะเวลากักพักทาง ชลศาสตร์ในระดับภาคสนาม ผลการทดลองในระดับห้องปฏิบัติการ ที่อัตราส่วน 1:1 3:1 5:1 7:1 และขยะเศษอาหาร เพียงอย่างเดียว พบว่า ประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดีมีค่าอยู่ระหว่าง 87.99-90.37 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพการกำจัดของแข็งทั้งหมดมีค่าอยู่ระหว่าง 68.87-74.83 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพการกำจัดของแข็งระเหยทั้งหมดมีค่าอยู่ระหว่าง 70.09-77.89 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพการกำจัดของแข็งแขวนลอยมีค่าอยู่ระหว่าง 71.27-81.96 เปอร์เซ็นต์ โดยที่อัตราส่วน 7:1 มีประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดีสูงที่สุดเท่ากับ 90.37 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณก๊าซชีวภาพทั้งหมดเท่ากับ 1,504 มิลลิลิตรต่อวัน โดยมีองค์ประกอบของก๊าซมีเทน 60.4 เปอร์เซ็นต์ ส่วนผลการทดลองในระดับภาคสนามโดยใช้อัตราส่วนของขยะเศษอาหารกับกากตะกอนน้ำเสียชุมชน 7:1 ที่ระยะเวลากักพักทางชลศาสตร์ 24 19 และ 16 วัน พบว่า ประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดีมีค่าอยู่ระหว่าง 85.42-88.67 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพการกำจัดของแข็งทั้งหมดมีค่าอยู่ระหว่าง 68.03-73.11 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพการกำจัดของแข็งระเหยทั้งหมดมีค่าอยู่ระหว่าง 71.03-73.68 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพการกำจัดของแข็งแขวนลอยมีค่าอยู่ระหว่าง 69.52-71.94 เปอร์เซ็นต์ โดยที่ระยะเวลากักพักทางชลศาสตร์ 24 วัน มีประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดีสูงที่สุดเท่ากับ 88.67 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณก๊าซชีวภาพทั้งหมดเท่ากับ 1,029.17 ลิตรต่อวัน โดยมีองค์ประกอบของก๊าซมีเทน 64.3 เปอร์เซ็นต์ ส่วนที่ระยะเวลากักพักทางชลศาสตร์ 12 วัน มีประสิทธิภาพกำจัดซีโอดี 87.40 เปอร์เซ็นต์ แต่มีปริมาณก๊าซชีวภาพทั้งหมดสูงสุดเท่ากับ 1,704.59 ลิตรต่อวัน โดยมีองค์ประกอบของก๊าซมีเทน 48.4 เปอร์เซ็นต์ | en |
dc.description.abstractalternative | Co-digestion of Food Waste and Sewage Sludge by Two-stage Anaerobic Digester for Biogas Production. Two-stage system are acid phase reactor and methane phase reactor. This research has been studied ratios of food waste with wastewater sludge (FW/WS) in laboratory scale prior to starting at hydraulic retention time (HRT) our pilot-scale system. The results FW/WS ratios of 1:1 3:1 5:1 7:1 and food waste only in lab scale showed that efficiency of chemical oxygen demand (COD) removal was in the range of 87.99-90.37 percents, total solids (TS) removal was in the range of 68.87-74.83 percents, total volatile solids (TVS) removal was in the range of 70.09-77.89 percents and suspended solids (SS) removal was in the range of 71.27-81.96 percents. At FW/WS ratio 7:1 gave highest efficiency of COD removal was 90.16 percents. Total gas production was 1,504 ml/d and percentage of methane content was 60.4 percents. Pilot-scale system, When decreasing hydraulic retention time (HRT) of 24 19 and 16 days. The results show that efficiency of COD removal was in the range of 85.42-88.67 percents, TS removal was in the range of 68.03-73.11 percents, TVS removal was in the range of 71.03-73.68 percents and SS removal was in the range of 69.52-71.94 percents. At HRT 24 days gave highest efficiency of COD removal was 88.67 percents. Total gas production was 1,029.17 l/d and percentage of methane content was 64.3 percents. AT HRT of 12 days efficiency of COD removal was 87.40 percents. But gave the highest of total gas production 1,704.59 l/d. and percentage of methane content was 48.4 percents. | en |
dc.format.extent | 2542701 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1405 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ก๊าซชีวภาพ | en |
dc.subject | การหมัก | en |
dc.subject | กากตะกอนน้ำเสีย | en |
dc.title | การหมักร่วมของขยะเศษอาหารกับกากตะกอนน้ำเสียชุมชนโดยใช้ถังหมักไร้อากาศแบบสองขั้นตอนสำหรับผลิตก๊าซชีวภาพ | en |
dc.title.alternative | Co-digestion of food waste and sewage sludge by two-stage anaerobic digester for biogas production | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา) | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Chavalit.R@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2010.1405 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
orawan_wa.pdf | 2.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.