Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32226
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโชติกา ภาษีผล-
dc.contributor.authorดาวเรือง ลุมทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-17T14:28:13Z-
dc.date.available2013-06-17T14:28:13Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32226-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อสร้างเกณฑ์การประเมินและข้อมูลย้อนกลับสำหรับผลงานศิลปะ ตามแนวคิดข้อมูลย้อนกลับทั่วไปและข้อมูลชี้แนะเพื่อการปรับปรุง 2) เพื่อตรวจสอบคุณภาพของเกณฑ์การประเมินผลงานและรูปแบบข้อมูลย้อนกลับที่สร้างขึ้น และ 3) เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการของผลงานศิลปะของผู้เรียนตามรูปแบบข้อมูลย้อนกลับและทักษะด้านศิลปะที่แตกต่างกัน การตรวจสอบคุณภาพกระทำโดยการวิเคราะห์ความตรงตามเนื้อหา ความตรงตามโครงสร้าง ความเที่ยงแบบความสอดคล้องระหว่างผู้ประเมิน และความเที่ยงแบบความสอดคล้องภายใน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการของผลงานศิลปะ ได้แก่ ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 79 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มือการประเมินผลงานศิลปะ เกณฑ์การประเมินผลงานศิลปะและชุดข้อมูลย้อนกลับ 3 รูปแบบ ได้แก่ ได้แก่ รูปแบบทั่วไป รูปแบบชี้แนะเพื่อการปรับปรุง และรูปแบบผสม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ (repeated measures ANOVA) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (one-way ANOVA) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ข้อมูลย้อนกลับและเกณฑ์การประเมินผลงานศิลปะประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านทัศนธาตุ ด้านองค์ประกอบ ด้านทักษะฝีมือ และด้านความคิดริเริ่ม 2) เกณฑ์การประเมินผลงานศิลปะมีคุณภาพด้านความตรงตามโครงสร้างด้วยวิธีการเทียบกับกลุ่มรู้ชัด ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างผู้ประเมินวิเคราะห์ด้วยค่า Cohen’s kappa มีค่าอยู่ในระดับปานกลางและมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค่าความเที่ยงแบบความสอดคล้องภายในค่อนข้างสูง (r = 0.797) 3) ในภาพรวมผู้เรียนมีพัฒนาการของผลงานศิลปะในระยะที่ 2 สูงกว่าระยะที่ 1 และระยะที่ 3 สูงกว่าระยะที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในระยะที่ 3 ผู้เรียนกลุ่มทักษะสูงที่ได้รับรูปแบบชี้แนะเพื่อการปรับปรุงมีพัฒนาการสูงกว่าผู้เรียนกลุ่มทักษะสูงที่ได้รับรูปแบบทั่วไปและรูปแบบผสมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the research were 1) to create visual art rubrics and feedback data sets for visual art according to feedback and feedforward approaches, 2) to investigate the qualities of rubrics and feedback data sets, and 3) to compare visual art development between styles of feedback data sets and art skill levels. The quality investigation included the analysis of content validity, construct validity, interrater agreement, and internal consistency. The research participants for comparing the development were 79 tenth grade students in Nonthaburi. Research instruments were art assessment manual, art rubrics and three styles of feedback data sets namely simple feedback style, feedforward style, and mixed style. The analytical methods consisted of repeated measures ANOVA and one-way ANOVA techniques. The research findings were as follows: 1) Visual art rubrics and feedback data sets consisted of four criteria which were elements of art, composition, skill, and originality. 2) Visual art rubrics’ construct validity was supported by known group method. Interrater agreement indices reflected by Cohen’s kappa were fair at the .05 level of significance. Internal consistency obtained by Cronbach’s alpha was rather high (r = 0.797). 3) Visual art development in period 2 was higher than the development in period 1 and the development in period 3 was higher than the development in period 2 at the .05 level of significance. In period 3, students with high art skill level obtaining feedforward style had visual art development more than those who obtained simple feedback style and mixed style at the .05 level of significance.en_US
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1469-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectทัศนศิลป์en_US
dc.subjectการประเมินผลงานen_US
dc.subjectการประเมินผลทางการศึกษาen_US
dc.subjectArten_US
dc.subjectJob evaluationen_US
dc.subjectEducational evaluationen_US
dc.titleผลของรูปแบบข้อมูลย้อนกลับที่มีต่อพัฒนาการของผลงานด้านทัศนศิลป์: การประยุกต์ใช้ข้อมูลย้อนกลับทั่วไปและข้อมูลชี้แนะเพื่อการปรับปรุงen_US
dc.title.alternativeThe effects of feedback styles on visual art development: an application of feedback and feedforward approachesen_US
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1469-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
daoruang_lu.pdf2.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.