Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32227
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุนทร บุญญาธิการ | - |
dc.contributor.author | เดชอัศม์ กางอิ่ม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-06-17T14:33:55Z | - |
dc.date.available | 2013-06-17T14:33:55Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32227 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 | en |
dc.description.abstract | เนื่องจากปัจจุบันแนวคิดในเรื่องการอยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนนั้นเป็นเรื่องใหม่สำหรับเมืองต่าง ๆ และเทศบาลส่วนใหญ่ในประเทศไทย ในขณะเดียวกันที่สภาพอากาศก็มีความผันแปรไม่คงที่เหมือนที่เคยเป็นมาทำให้เกิดความกังวลเป็นอันมาก คนส่วนใหญ่จึงมีความอ่อนไหวและหวาดกลัวที่จะทำกิจกรรมใดๆ ดังนั้นจึงได้เกิดมีแนวคิดใหม่ในการนำเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เป็นต้นทุน หรือทุนธรรมชาติสำหรับการดำเนินงานของเมือง ซึ่งแนวคิดนี้เป็นความคิดชั้นยอดสำหรับนายกเทศมนตรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยรองรับกับการนำทุนดังกล่าวมาใช้ แต่ต้องขึ้นอยู่กับวิสัยทัศน์ด้วยเทศบาลนครตรังจะเป็นตัวอย่างที่ดีในการทดลองนำเอาแนวคิดล้ำยุคนี้มาใช้ ซึ่งอาจจะช่วยพลิกโฉมหน้าของการบริหารเมืองไปสู่ยุคอนาคต ตามแนวคิดนี้จะต้องมีการเปลี่ยนการจัดองค์กรใหม่ โดยมีรองนายกเทศมนตรีรับผิดชอบในด้านการวางแผนและดำเนินการเกี่ยวการใช้ทุนธรรมชาติ โดยที่เทศบาลนครตรังมีลักษณะเฉพาะด้านภูมิอากาศ คือมีฝนแปดเดือนและแดดอีกสี่เดือน ส่วนด้านภูมิศาสตร์ก็เป็นเนินเขา มีลมทะเลพัดผ่าน และมีขยะของเศษอาหารเป็น จำนวนมากที่มาจากประเพณีของคนตรัง จากการศึกษาได้พบว่า 1) เทศบาลนครตรังมีฝนตกในปริมาณค่าเฉลี่ยที่ 1,900 มิลลิเมตรต่อปี หรือ 29 ล้านลบม.ต่อปี 2) กังหันลมและกังหันวิดน้ำจะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ ประมาณ 57,600 กิโลวัตต์ต่อปีต่อกังหันลมสูง 24 เมตรหนึ่งชุดขนาดกำลังผลิต 20 กิโลวัตต์ (คิด 3 ชุด เท่ากับ 172,800 กิโลวัตต์ต่อปี หรือมูลค่า 604,800 บาทต่อปี) หรือใช้เดินเครื่องปั๊มนํ้าสำหรับสูบน้ำจากผิวพื้นดินเพื่อ ระบายเข้าสู่ท่อระบายน้ำ 3) แผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่ตั้งบนหลังคาจะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ประมาณ 1,843 กิโลวัตต์ต่อปีต่อพื้นที่ 1 ตรม. ( หากคิดพื้นที่หลังคา 50,000 ตรม. จะได้ไฟฟ้าประมาณ 92 ล้านกิโลวัตต์ต่อปี หรือมีมูลค่า 322 ล้านบาทต่อปี) 4) ปริมาณขยะที่มาจากเศษอาหารผลิตก๊าซชีวภาพได้จำนวน 981,120 ลบม. เพื่อ ใช้ทดแทนก๊าซที่มาจากน้ำมัน (LPG) เมื่อคิดคำนวณเป็นหน่วยพลังงานแล้วจะมีค่าเท่ากับ 15,680 กิโลวัตต์ต่อวัน หรือ 5.7 ล้านกิโลวัตต์ต่อปี คิดเป็นมูลค่าเงินเท่ากับ 19.95 ล้านบาทต่อปี หากรวมมูลค่าพลังงานที่ผลิตต่อปีจาก ทุนธรรมชาติจะได้เท่ากับ 342.554 ล้านบาท ต่อปี (3.5 บาทต่อกิโลวัตต์) | en_US |
dc.description.abstractalternative | Most Municipal cities in Thailand are very new to the sustainable concept. As climate change is become very much concern, ways to lead people and their activities are very sensitive. The new idea to introduce natural resources as a natural capital for community is pretty much to be state of the art for community president. All technologies now are available but ways and how to apply is depending on vision. Trang municipal city is a good sample as cutting edge of the new paradigm in natural capitalism approach. City organization chart has changed. Vice president has a responsibility to pursue natural capital resource plan. Trang has special characters as 8-month rain and 4-month sunshine. Hilly topography, sea shore wind, and a lot of food waste are Trang’s special opportunity. It is found that 1) rain water harvesting is about 29 million cu.m./yr using check dam and reservoir, 2) wind turbine and wind mill can produce electricity about 57,600 kw/yr and pump surface runoff circulate in pipe system, 3) photo voltaic system on roofs can produce about 1,843 kw/yr/sqm. At 50,000 sqm.of roof area = 92 mil. kw/yr or 322 mil. Baht and 4) about 981,120 cu.m. of food waste biogas or 5.7 mil.kw/yr annually could replace LPG gas. Those natural resources has energy value as as 342.554 mil.Baht/yr (3.5 Baht/kW). | en_US |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1470 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | สถาปัตยกรรมแบบยั่งยืน -- ไทย -- ตรัง | en_US |
dc.subject | แหล่งพลังงานทดแทนทางธรรมชาติ -- ไทย -- ตรัง | en_US |
dc.subject | แหล่งพลังงานทดแทน -- ไทย -- ตรัง | en_US |
dc.subject | Sustainable architecture -- Thailand -- Trang | en_US |
dc.subject | Renewable natural resources -- Thailand -- Trang | en_US |
dc.subject | Renewable energy sources -- Thailand -- Trang | en_US |
dc.title | ศักยภาพการใช้ทุนธรรมชาติในการบริหารจัดการเมือง กรณีศึกษา เทศบาลนครตรัง | en_US |
dc.title.alternative | Potential use of natural capital in town management, a case study in Trang city | en_US |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สถาปัตยกรรม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | soontorn@asia.com, Soontorn.B@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2010.1470 | - |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
datat_ka.pdf | 5.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.