Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/323
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพร้อมพรรณ อุดมสิน-
dc.contributor.authorนัฎฐิตา โพธิ์เพชร, 2523--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-14T10:22:20Z-
dc.date.available2006-06-14T10:22:20Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741718977-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/323-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังได้รับการสอน โดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค 4 MAT เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้เทคนิค 4 MAT กับการสอนแบบปกติ เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังได้รับการสอน โดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค 4 MAT และเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค 4 MAT กับการสอนแบบปกติ ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2545 โรงเรียนวัดราชบพิธ กรุงเทพมหานคร จำนวน 2 กลุ่ม แบ่งเป็นนักเรียนกลุ่มทดลองจำนวน 50 คน และกลุ่มควบคุมจำนวน 47 คน ซึ่งนักเรียนในกลุ่มทดลองได้รับการสอน โดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค 4 MAT และนักเรียนในกลุ่มควบคุมได้รับการสอนแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และแบบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้เทคนิค 4 MAT หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค 4 MAT สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 3. ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค 4 MAT หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 4. ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค 4 MAT สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05en
dc.description.abstractalternativeTo compare the mathematics learning achievements of mathayom suksa three students before and after being taught by organizing mathematics instruction activity using the 4 MAT technique. To compare the mathematics learning achievements of mathayom suksa three students between groups being taught by organizing mathematics instruction activity using the 4 MAT technique and being taught by conventional approach. To compare the mathematical creativity of mathayom suksa three students before and after being taught by organizing mathematics instruction activity using the 4 MAT technique. And to compare the mathematical creativity of mathayom suksa three students between groups being taught by organizing mathematics instruction activity using the 4 MAT technique and being taught by conventional approach. The subjects were mathayom suksa three students in academic year 2002 in Watrachabopit School, Bangkok Metropolis. There were divided into two groups, one with 50 students in experimented group and the other with 47 students in controlled group. The experimental group was taught by organizing mathematics instruction activity using the 4 MAT technique and the control group was taught by conventional approach. The research instruments were the mathematics learning achievement test and the mathematical creativity test. The data were analyzed by means of arithmetic means, standard deviation and t-test. The research results were revealed that 1. The mathematics learning achievement of mathayom suksa three students being taught by organizing mathematics instruction activity using the 4 MAT technique after the experiment was higher than that before the experiment at 0.05 level of significance. 2. The mathematics learning achievement of mathayom suksa three students being taught by organizing mathematics instruction activity using the 4 MAT technique was higher than that being taught by conventional approach at 0.05 level of significance. 3. The mathematics creativity of mathayom suksa three students being taught by organizing mathematics instruction activity using the 4 MAT technique after the experiment was higher than that before the experiment at 0.05 level of significance. 4. The mathematics creativity of mathayom suksa three students being taught by organizing mathematics instruction activity using the 4 MAT technique was higher than that being taught by conventional approach at 0.05 level of significance.en
dc.format.extent846633 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.660-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนen
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์en
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอนen
dc.titleผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยใช้เทคนิค 4 MAT ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์และความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3en
dc.title.alternativeEffects of organizing mathematics instruction activity using the 4 MAT technique on mathematics learning achievement and creativity of mathayom suksa three sutdentsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการศึกษาคณิตศาสตร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.authorPrompan.U@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.660-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nuttita.pdf877.28 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.