Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32546
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุกรี รอดโพธิ์ทอง | - |
dc.contributor.advisor | ใจทิพย์ ณ สงขลา | - |
dc.contributor.author | วีระ สุภะ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-06-27T04:50:09Z | - |
dc.date.available | 2013-06-27T04:50:09Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32546 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนทางไกลเชิงพุทธของสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่อง ดี เอ็ม ซี ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยมีขั้นตอนการวิจัยออกเป็น 4 ขั้นตอนคือ 1) ศึกษาและสังเคราะห์กรอบแนวคิดของรูปแบบการเรียนการสอนทางไกลเชิงพุทธของสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่อง ดี เอ็ม ซี 2) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนทางไกลฯ 3) ศึกษาผลของการใช้รูปแบบการเรียนการสอนทางไกลฯ 4) นำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนทางไกลฯ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ รูปแบบการเรียนการสอนทางไกลฯ แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมกายแคลิฟอร์เนีย ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา GL 203 กฎแห่งกรรม ภาคต้น ปีการศึกษา 2553 จำนวน 30 คน ระยะเวลาในการทดลอง คือ 6 สัปดาห วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-Test Dependent ผลการวิจัย พบว่า 1.องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนทางไกลฯ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ 1) แหล่งเรียนร 2) เทคโนโลยี 3) บุคลากร 4) สื่อการเรียนร 5) ศูนย์ประสานงาน และ 6) สภาพแวดล้อม ขั้นตอนของระบบสนับสนุนการศึกษาทางไกล ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1) การเตรียมการก่อนการเรียนการสอน 2) การวางแผนการเรียนการสอน 3) การออกแบบเนื้อหาและสื่อการเรียนการสอนในการศึกษาเชิงพุทธด้วยกระบวนการสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ 4) การถ่ายทอดการเรียนการสอน และ 5) การติดตามและประเมินผล 2.นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตที่เรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนทางไกลฯ ที่พัฒนาขึ้น มีคะแนนความคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ มีความพึงพอใจต่อการเรียนตามรูปแบบฯที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมาก 3.ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ทำการประเมินรูปแบบการเรียนการสอนทางไกลฯ แล้วมีความคิดเห็นว่า รูปแบบการเรียนการสอนทางไกลฯ ที่พัฒนาขึ้นนั้นมีความเหมาะสมอยู่ในระดับดีมาก | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective to the research study was to development of the distance instructional model based on Buddhist approach via DMC satellite channel upon learning achievement and critical thinking. There were 4 steps in the research which were: 1) to study and synthesize the main concept of the distance instructional model based on Buddhist approach via DMC satellite channel, 2) to devdlop the distance instructional model, 3) to determine the results from using the distance instructional model, and 4) to propose the distance instructional model. The research tools were the distance instructional model, the critical thinking test, the learning achievement test and the student stisfaction questionnaire. The sample was 30 undergraduate students of Dhammakaya Open University who had enroled to study GL 203 The Law of Karma subject in the first semerster of 2010. The experiment period was 6 weeks. Data was analyzed by using frequency, percentage, average and t-Test dependent. The result revealed that: 1. The distance instructional model consists of 6 components which were: 1) learning resource, 2) technology, 3) personnel, 4) learining media, 5) coordinator center, and 6) environment. The procedure of the distance instructional consists of 5 steps which were: 1) the preparation before studying, 2) the planning of studying, 3) the design of content and learning media in the Buddhist education theough gelief and clear comprehension development, 4) the studying communication, and 5) motoring and evaluating results. 2. The undergraduate students students studying by distance instructonal model had the critical thinking post-test score higher than the critical thinking pre-test score at of .01., and had the learning achievement post-test score higher than the learning achievement pre-test score at .01. 3. Five experts had evaluated distance insructional model and considered the level of appropriateness of the developed Models as very high. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1693 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | วัดธรรมกาย | en_US |
dc.subject | สถานีโทรทัศน์ดี เอ็ม ซี | en_US |
dc.subject | การศึกษาทางไกล | en_US |
dc.subject | โทรทัศน์เพื่อการศึกษา | en_US |
dc.subject | การศึกษาทางพุทธศาสนา | en_US |
dc.subject | พุทธศาสนา -- การศึกษาและการสอน | en_US |
dc.subject | ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ -- การศึกษาและการสอน | en_US |
dc.subject | Dhammakaya | en_US |
dc.subject | Dhamma Media Channel (DMC) | en_US |
dc.subject | Distance education | en_US |
dc.subject | Television in education | en_US |
dc.subject | Buddhist education | en_US |
dc.subject | Buddhism -- Study and teaching | en_US |
dc.subject | Critical thinking -- Study and teaching | en_US |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนทางไกลเชิงพุทธของสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่อง ดี เอ็ม ซี ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ | en_US |
dc.title.alternative | Development of a distance instructional model based on Buddhist approach via DMC satellite channel upon learning achievement and critical thinkng | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.advisor | Jaitip.n@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2010.1693 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wera_su.pdf | 4.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.