Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32581
Title: Effect of white Proroot® MTA and two Thai white portland cements mixed with bismuth oxide on cementoblastic differentiation in human cementoblast-like cell line
Other Titles: ผลของไวท์โปรรูทเอ็มทีเอและพอร์ตแลนด์ซีเมนต์สองชนิดที่ผลิตในประเทศไทยที่ผสมบิสมัตออกไซด์ต่อการเปลี่ยนสภาพของเซลล์สร้างเคลือบรากฟันชนิดซีเมนโตบลาสไลค์เซลล์ไลน์ของมนุษย์
Authors: Treesukhon Eakbannasingh
Advisors: Chootima Ratisoontorn
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry
Advisor's Email: No information provided
Subjects: Alkaline phosphatase
Bismuth trioxide
Dental ceramics
Gene expression
บิสมัตไตรออกไซด์
พอร์ซเลนทางทันตกรรม
อัลคาไลน์ฟอสฟาเทส
การแสดงออกของยีน
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The purpose of this study was to investigate the effects of two Thai white Portland cement mixed with bismuth oxide (Chang and Kilan brands) and white ProRoot® MTA on gene expression and alkaline phosphatase activity of human cementoblast-like cell lines. Human cementoblast-like cell lines were exposed to material extracts for 1, 3, and 7 days. The expression of alkaline phosphatase, bone sialoprotein, type I collagen and osteocalcin were examined by quantitative real time polymerase chain reaction. Alkaline phosphatase activity was determined by enzymatic assay. Differences in relative expression ratio and alkaline phosphatase activity were analyzed by Kruskal-Wallis test (p < 0.05). Chang statistically significantly upregulated alkaline phosphatase at days 1 and 3 and white ProRootÒ MTA stimulated alkaline phosphatase at day 3. All materials significantly stimulated bone sialoprotein at day 3 and Kilan also upregulated bone sialoprotein at day 7. Both Chang and Kilan significantly increased type I collagen expression at day 1 but gene expression of osteocalcin was significantly decreased by all materials at days 3 and 7. In addition, Chang and Kilan statistically significantly induced alkaline phosphatase activity more than white ProRoot® MTA and control at days 3 and 7. In conclusion, this study of human cementoblast-like cell lines showed that Chang induced alkaline phosphatase and bone sialoprotein expression in a similar manner to white ProRoot® MTA. Kilan could not upregulate alkaline phosphatase but could increase more bone sialoprotein expression than Chang and white ProRoot® MTA. Alkaline phosphatase activity could be upregulated by Chang and Kilan but not by white ProRoot® MTA.
Other Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของพอร์ตแลนด์ซีเมนต์สีขาวที่ผลิตในประเทศไทยตราช้าง และตรากิเลนที่ผสมบิสมัตออกไซด์และไวท์โปรรูทเอ็มทีเอต่อการแสดงออกของยีน และการทำงานของ เอนไซม์อัลคาไลน์ฟอสฟาเตสต่อเซลล์สร้างเคลือบรากฟันชนิดซีเมนโตบลาสไลค์เซลล์ไลน์ของมนุษย์ โดย เลี้ยงเซลล์สร้างเคลือบรากฟันชนิดซีเมนโตบลาสไลค์เซลล์ไลน์ของมนุษย์ ด้วยอาหารเลี้ยงเซลล์ที่สกัดจาก พอร์ตแลนด์ซีเมนต์ตราช้างและตรากิเลนและไวท์โปรรูทเอ็มทีเอ ในช่วงเวลาที่แตกต่างกันคือเป็นเวลา 1 3 และ 7 วัน วัดการแสดงออกของยีนอัลคาไลน์ฟอสฟาเตส โบนไซอะโลโปรตีน คอลลาเจนชนิดที่ 1 และออสทีโอแคลซินด้วยวิธีเรียลไทม์พอลิเมอเรสเชนรีแอกชัน และวัดการทำงานของเอนไซม์อัลคาไลน์ ฟอสฟาเตสด้วยวิธีวิเคราะห์เอนไซม์ วิเคราะห์ความแตกต่างของสัดส่วนการแสดงออกของยีนและการทำงาน ของเอนไซม์อัลคาไลน์ฟอสฟาเตส ด้วยสถิติการทดสอบของครัสคัล-วอลลิสที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 จากการ ศึกษาพบว่าพอร์ตแลนด์ซีเมนต์ตราช้างกระตุ้นการแสดงออกของยีนอัลคาไลน์ฟอสฟาเตสอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติในวันที่ 1 และ 3 ส่วนไวท์โปรรูทเอ็มทีเอจะกระตุ้นการแสดงออกของยีนอัลคาไลน์ฟอสฟาเตสเฉพาะวัน ที่ 3 วัสดุทั้งสามกลุ่มกระตุ้นการแสดงออกของยีนโบนไซอะโลโปรตีนในวันที่ 3 และพอร์ตแลนด์ซีเมนต์ตรา กิเลนสามารถกระตุ้นการแสดงออกของยีนโบนไซอะโลโปรตีนในวันที่ 7 ด้วย พอร์ตแลนด์ซีเมนต์ตราช้างและ กิเลนกระตุ้นการแสดงออกของยีนคอลลาเจนชนิดที่ 1 ในวันที่ 1 แต่การแสดงออกของยีนออสทีโอแคลซิน จะลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทั้งสามกลุ่มทดลองในวันที่ 3 และ 7 นอกจากนั้นพอร์ตแลนด์ซีเมนต์ ตราช้างและตรากิเลนจะกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์อัลคาไลน์ฟอสฟาเตสได้มากกว่าไวท์โปรรูทเอ็มทีเอและกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในวันที่ 3 และ 7 จากผลการศึกษาในเซลล์สร้างเคลือบรากฟันชนิด ซีเมนโตบลาสไลค์เซลล์ไลน์ของมนุษย์นี้แสดงให้เห็นว่า พอร์ตแลนด์ซีเมนต์ตราช้างกระตุ้นการแสดงออกของ ยีนอัลคาไลน์ฟอสฟาเตสและโบนไซอะโลโปรตีนลักษณะเดียวกับไวท์โปรรูทเอ็มทีเอ พอร์ตแลนด์ซีเมนต์ตรา กิเลนไม่กระตุ้นการแสดงออกของยีนอัลคาไลน์ฟอสฟาเตส แต่กระตุ้นการแสดงออกของยีนโบนไซอะโล โปรตีนได้มากกว่าพอร์ตแลนด์ซีเมนต์ตราช้างและไวท์โปรรูทเอ็มทีเอ และการทำงานของเอ็นไซม์อัลคาไลน์ ฟอสฟาเตสจะถูกกระตุ้นโดยพอร์ตแลนด์ซีเมนต์ตราช้างและตรากิเลนเท่านั้น ไม่ถูกกระตุ้นโดยไวท์โปรรูท เอ็มทีเอ
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Endodontology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32581
Type: Thesis
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
treesukhon_ea.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.