Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3262
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประพัฒน์ ลักษณพิสุทธิ์-
dc.contributor.authorพิทักษ์ ภริตานนท์, 2518--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-10-13T09:27:24Z-
dc.date.available2006-10-13T09:27:24Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740311997-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3262-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถในการทรงตัวของนักเรียน ที่มีความ บกพร่องทางการได้ยินของโรงเรียนโสตศึกษา และนักเรียนในโรงเรียนปกติในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น (ป.1-3) ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4-6) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) รวมจำนวนทั้งสิ้น 718 คน ทดสอบการทรงตัวขณะร่างกายอยู่กับที่ และการทรงตัวขณะร่างกายเคลื่อนที่ ด้วยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ เครื่องวัดการทรงตัวแบบอยู่กับที่ และแบบทดสอบ การกระโดดแบบสแท็กเกอร์ของจอหืนสัน หลังจากนั้น นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสร้างเกณฑ์ปกติความสามารถในการทางตัวของนักเรียน นำผลการวเคราะห์เสนอในรูปตารางประกอบความเรียง ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยความสามารถในการทรงตัวทั้งขณะอยู่กับที่ และความสามารถในการทรงตัวขณะเคลื่อนที่ของนักเรียน ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน กับนักเรียนปกติดีขึ้นตามระดับชั้นปี 2. ความสามารถในการทรงตัวขณะอยู่กับที่ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาระหว่าง นักเรียน ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน กับนักเรียนปกติ ไม่แตกต่างกัน 3. ความสามารถในการทรงตัวขณะอยู่กับที่ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาระหว่างนักเรียน ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินกับนักเรียนปกติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ความสามารถในการทรงตัวขณะเคลื่อนที่ของนักเรียนทุกระดับชั้น ระหว่างนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินกับนักเรียนปกติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. มีเกณฑ์คะแนนความสามารถในการทรงตัวของนักเรียน ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินกับนักเรียนปกติ จำแนกตามระดับชั้น และเพศen
dc.description.abstractalternativeTo study and to compare the balance ability of hearing-impaired students of school for the deaf and students of normal schools in the Bangkok metropolis and vicinity. The 718 subjects were primary school students, grade 1-3 and grade 4-6, and secondary school students, grade 1-3 and grade 4-6. They were tested for their static and dynamic balance ability, with two instruments: stabilometer and Johnson Stagger Jump Test. The data were analyzed in terms of means, standard deviations, and set up static and dynamic balance ability score criteria for these students. The results indicated that: 1. The means of static and dynamic balance ability for hearing-impaired students and students of normal schools were good and got better in upper class levels. 2. Static balance ability of primary school students between hearing-impaired students and students of normal schools was not significantly different. 3. Static balance ability of secondary school students between hearing-impaired students and students of normal schools were significantly different at .05 level. 4. Dynamic balance ability of all class level students between hearing-impaired students and students of normal schools were significantly different at .05 level. 5. There were static and dynamic balance ability score criteria for hearing-impaired students and students of normal schools, classified by level and sex.en
dc.format.extent2003208 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.542-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการทรงตัวen
dc.subjectเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินen
dc.subjectความบกพร่องทางการได้ยินen
dc.titleความสามารถในการทรงตัวของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ของโรงเรียนโสตศึกษาและนักเรียนในโรงเรียนปกติ ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลen
dc.title.alternativeThe balance ability of hearing-impaired students of school for the deaf and students of normal schools in the Bangkok Metropolis and vicinityen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineพลศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPrapat.L@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.542-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PitakPa.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.