Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32690
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรสุดา บุญยไวโรจน์
dc.contributor.authorอัตถสิทธิ์ นาวะลี
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-07-02T05:39:57Z
dc.date.available2013-07-02T05:39:57Z
dc.date.issued2538
dc.identifier.isbn9746326422
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32690
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสอนของครูวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดยโสธร ในด้านการนำเข้าสู่บทเรียน การใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การใช้สื่อการสอน และการวัดผลประเมินผล ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. พฤติกรรมการนำเข้าสู่บทเรียนพบว่า ครูวิทยาศาสตร์ส่วนมากนำเข้าสู่บทเรียนโดย การทบทวนบทเรียนที่ผ่านมา และการซักถามปัญหาเกี่ยวกับการเรียน 2. พฤติกรรมการใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอนพบว่า ครูวิทยาศาสตร์ส่วนมากสอนโดยการบรรยาย โดยมีเทคนิคการสอนประกอบการบรรยายที่พบมาก คือ การเขียนหัวข้อสำคัญของเนื้อหา การซักถามนักเรียน การให้นักเรียนจดบันทึกเนื้อหา และการสรุปเนื้อหา 3. พฤติกรรมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์พบว่า ครูวิทยาศาสตร์ส่วนมากไม่ได้พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียน 4. พฤติกรรมการใช้สื่อการสอนพบว่า ครูวิทยาศาสตร์ส่วนมากใช้แบบเรียน คู่มือครู หนังสือหรือเอกสารอื่น และกระดานกับชอล์คประกอบการสอนและใช้สื่อเพื่อถ่ายทอดความคิดรวบยอด หลักการ หรือทฤษฎีของเนื้อหา โดยนักเรียนและครูเป็นผู้ใช้สื่อ จำนวนสื่อเพียงพอกับนักเรียน 5. พฤติกรรมการวัดผลประเมินผลพบว่า ครูวิทยาศาสตร์ส่วนมากวัดผลประเมินผลในด้านความรู้ ความจำ โดยใช้การซักถาม และการให้ทำแบบฝึกหัด
dc.description.abstractalternativeThis purpose of this thesis is to study the teaching behavior of science teachers in lower secondary schools under the Expansion of basic Education Opportunity Project under the jurisdiction of the office of Yasothon Primary Education in terms of warm – up activities, teaching techniques, development of scientific procedures, teaching aids and assessment. The findings are as follows: 1. As for warm – up activities, most teachers use revision of the previous lesson and discussion about the lesson. 2. The most widely used teaching technique is lecturing. Most teachers write major points on the board, ask students some questions, ask them to take notes and summarize the lesson. 3. In terms of the development of scientific procedures, it is mostly found that the teachers do not provide the students with such skills. 4. Most teachers use a textbook, the teacher’ s manual, other reference books and the blackboard as teaching aids. They are used to convey absolute ideas and principles. The aids provided are appropriate to the number of the students. 5. Most of the teachers assess their students by testing their knowledge of the content through questions and exercises.
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleพฤติกรรมการสอนของครูวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดยโสธรen
dc.title.alternativeTeaching behavior of science teachers in lower secondary schools under the Expansion of Basic Education Opportunity Project under the jurisdiction of the Office of Yasothon Provincial Primary Educationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Attasit_na_front.pdf4.52 MBAdobe PDFView/Open
Attasit_na_ch1.pdf6.83 MBAdobe PDFView/Open
Attasit_na_ch2.pdf41.53 MBAdobe PDFView/Open
Attasit_na_ch3.pdf5.53 MBAdobe PDFView/Open
Attasit_na_ch4.pdf10.37 MBAdobe PDFView/Open
Attasit_na_ch5.pdf12.6 MBAdobe PDFView/Open
Attasit_na_back.pdf21.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.