Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32706
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุพล ดุงค์วัฒนา | |
dc.contributor.author | อัมพร ชาตบุษยมาส | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-07-02T05:56:42Z | |
dc.date.available | 2013-07-02T05:56:42Z | |
dc.date.issued | 2531 | |
dc.identifier.isbn | 9745693731 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32706 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวประมาณค่าพารามิเตอร์ในการวิเคราะห์ความถดถอย เมื่อตัวแปรตามบางค่ามีค่าขาดหาย ประเภทของค่าขาดหายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นค่าขาดหายแบบสุ่ม ซึ่งได้ทำการเปรียบเทียบวิธีการ 3 วิธีคือ วิธีการกำลังสองต่ำสุด วิธีการของมิลเลอร์ และวิธีการของบัคเลย์และเจมส์ ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาได้จากการจำลองขึ้นจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการศึกษาครั้งนี้ ได้ทำการศึกษาเมื่อค่าขาดหายมีการแจกแจงเป็นแบบยูนิฟอร์ม แบบแกมม่า แบบปกติ และเมื่อค่าขาดหายเป็นฟังก์ชั่นเชิงเส้นกับค่าความคลาดเคลื่อน ขนาดตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษามีขนาด 10 20 50 60 100 และ 150 และให้เปอร์เซนต์เฉลี่ยของค่าขาดหายในแต่ละขนาด ตัวอย่างมีค่าเท่ากับ 5% 10% 15% 20% 25% 30% 50% 60% 70% และ 80% ในการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวประมาณนั้น จะพิจารณาจากค่าความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยของตัวประมาณเป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจ ผลการเปรียบเทียบได้ผลสรุปที่สำคัญดังนี้ วิธีการกำลังสองต่ำสุด จะให้ประสิทธิภาพในการประมาณค่าพารามิเตอร์ได้ดีกว่าวิธีการของบัคเลย์และเจมส์ ยกเว้นในกรณีที่การแจกแจงของค่าขาดหายเป็นแบบแกมม่า ที่บางเปอร์เซนต์เฉลี่ยของค่าขาดหาย และขนาดตัวอย่าง วิธีการของบัคเลย์และเจมส์ จะให้ประสิทธิภาพในการประมาณค่าพารามิเตอร์ได้ดีกว่าวิธีการกำลังสองต่ำสุด และวิธีการกำลังสองต่ำสุดจะให้ประสิทธิภาพในการประมาณค่าพารามิเตอร์ได้ดีกว่าวิธีการของมิลเลอร์ในทุกสถานการณ์ที่ศึกษา แต่อย่างไรก็ตามค่าประมาณของวิธีการของมิลเลอร์เป็นค่าประมาณที่เกือบจะไม่เอนเอียงของพารามิเตอร์ ในกรณีที่เปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของค่าขาดหายมีค่าต่ำ ๆ ประมาณ 5% ถึง 16% วิธีการของบัคเลย์และเจมส์จะให้ค่าประมาณที่เป็นค่าไม่เอนเอียงของพารามิเตอร์ แต่จะให้ค่าความแปรปรวนสูงกว่าวิธีการกำลังสองต่ำสุด | |
dc.description.abstractalternative | The Objective of this study is to compare the efficiency of parameter estimation in the regression analysis when some observations of dependent variable are censored. The censoring are random and interrupt the dependent variable. This interrupting is called censoring variable. Three methods were compared. They were Least Squares method, Miller method, Buckley and James method. Data used in the study were generated by computer simulation. Four types of distribution for censored data were generated. They were uniform distribution, gamma distribution, normal distribution and linear function of error in the regression model. The different sample size used in the study were 10, 20, 50, 60, 100 and 150. The average percentages of censored given in each sample size were 5%, 10%, 15%, 20%, 25%, 30%, 50%, 60%. 70% and 80%. Comparing the efficiency of the estimators, the mean square error of estimators has been used. The result of the comparison can be concluded as follow: Least squares method is more efficient in estimating parameters than Buckley and James method except when censored data is gamma distribution in some percentage of censoring and sample size. Least squares method is better than Miller method in every experiment situation in study. However, the estimator from Miller’s method is nearly unbiased. When average percentage of censored data are low, 5 to 15 percent, Buckley and James method will provide good estimator. This estimator is unbiased. However its mean square error is higher than that of Least squares method. | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การวิเคราะห์ความถดถอยเมื่อตัวแปรตามบางค่ามีค่าขาดหาย | en |
dc.title.alternative | Regression analysis with censored data | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | สถิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สถิติ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Amporn_cha_front.pdf | 16.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Amporn_cha_ch1.pdf | 5.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Amporn_cha_ch2.pdf | 10.06 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Amporn_cha_ch3.pdf | 4.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Amporn_cha_ch4.pdf | 38.72 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Amporn_cha_ch5.pdf | 5.29 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Amporn_cha_back.pdf | 5.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.