Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32940
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปวีณา เชาวลิตวงศ์-
dc.contributor.authorภาคภูมิ รุ่งชวาลนนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-09T09:07:23Z-
dc.date.available2013-07-09T09:07:23Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32940-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงการวางแผนการผลิตสำหรับกระบวนการแปรรูปกระดาษทิชชูที่เป็นการผลิตแบบ Make-to-Stock ซึ่งแผนการผลิตจะต้องถูกกำหนดให้ เหมาะสมกับความต้องการที่จะเกิดขึ้น ในอนาคตในปัจจุบันผู้วางแผนการผลิตยังไม่มีเครื องมือ หรือเกณฑ์ในการตัดสินใจด้านปริมาณการผลิตสินค้าสำเร็จรูปและระดับสินค้าคงคลัง งานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นในการพัฒนาวิธีการในการวางแผนการแปรรูปกระดาษด้วยการ ประยุกต์ใช้ตัวแบบสินค้าคงคลัง (r ,Q) ในการกำหนดพารามิเตอร์เพื่อช่วยในกระบวนการ ตัดสินใจ จากนั้น พัฒนาวิธีการในการวางแผนการผลิตด้วยพารามิเตอร์ที่กำหนดขึ้น และ บริหารกระบวนการจัดหาวัตถุดิบด้วยแนวคิด base stock โดยวิธีการที่นำเสนอถูกทดสอบด้วยข้อมูลความต้องการจริงในช่วงเดือน เมษายน 2553 ถึง มิถุนายน 2553 พบว่ากระบวนการที่นำเสนอสามารถช่วยลดระดับการจัดเก็บสินค้า คงคลังเฉลี่ยลงได้ 11% โดยที่จำนวนครั้ง การปรับตั้ง เครื่องจักรลดลง 40% และสามารถลดค่าปรับกรณีสินค้าขาดส่งลงได้ 98% ซึ่งจากปัจจัยเหล่านี้ ส่งผลให้ต้นทุนทางด้านสินค้าคงคลัง ลดลงถึง 55% และมีระดับการให้บริการลูกค้าที่ดีขึ้น ดังนั้น วิธีการที่นำเสนอจึงสามารถใช้ในการปรับปรุงการจัดตารางการแปรรูปสำหรับสายการผลิตกรณีศึกษาได้en_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to improve the production planning of tissue paper conversion process under make-to-stock production concept. When the production plan is made, the production lot size should be appropriately decided to match with future demand. Currently, the production planner does not have any tools or criteria to appropriately decide the level of finished goods production and stock level. This research focuses on developing the conversion planning method by applying of the (r,Q) inventory model in order to set parameters used in the decision making process, then developing a planning method to work with the parameters, and managing raw material sourcing process by base stock concept. The proposed method was tested on actual sales data during April 2010 to June 2010. The result showed that the proposed method was able to help reducing average inventory levels by 11%, saving the machine setup time by 40%, and reducing undelivered goods penalty by 98%. All these factors reflect in decreasing inventory costs by 55% and improving the delivery service level. Therefore, this proposed method can be used to improve conversion scheduling as a case study of the production line.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.169-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกระดาษทิชชูen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์กระดาษen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์กระดาษ -- การควบคุมสินค้าคงคลังen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์กระดาษ -- การควบคุมการผลิตen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์กระดาษ -- การวางแผนen_US
dc.subjectการควบคุมสินค้าคงคลังen_US
dc.subjectTissue paperen_US
dc.subjectPaper products industryen_US
dc.subjectPaper products industry -- Inventory controlen_US
dc.subjectPaper products industry -- Production controlen_US
dc.subjectPaper products industry -- Planningen_US
dc.subjectInventory controlen_US
dc.titleการปรับปรุงการวางแผนการแปรรูปกระดาษทิชชูen_US
dc.title.alternativeImprovement of tissue paper conversion planningen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpaveena.c@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.169-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pakpoom_ru.pdf11.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.