Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32943
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPichayada Katemake-
dc.contributor.advisorIkeda, Mitsuo-
dc.contributor.authorPatarin Wongsompipatana-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2013-07-09T09:19:21Z-
dc.date.available2013-07-09T09:19:21Z-
dc.date.issued2010-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32943-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2010en_US
dc.description.abstractThe research aims to obtain and to improve the equivalent lightness perceived by elderly people by using the cataract experiencing goggles. Two viewing conditions were employed, the normal viewing and the environment-stimulus independent condition. In the normal viewing condition the heterochromatic brightness matching was carried out for four colored stimuli under nine illuminance levels from 0.08 lx through 800 lx. The results showed the equivalent lightness was lower with the goggles by the amount about 10 L* unit at any illuminance level. The color appearance experiment was also carried out by the elementary color naming method, where the chromaticness, whiteness, and blackness were estimated for colored stimuli. The chromaticness decreased for lower illuminance causing the equivalent lightness to decrease. The environment-stimulus independent condition was proposed to keep the equivalent lightness of elderly people high. A colored stimulus was placed in a separated room from the subject room and its illuminance was kept constant as 200 lx, while that of the subject room was varied as in the normal viewing experiment. By this way the effect of the environment light was reduced. The result showed that the equivalent lightness was high even with goggles for all the room illuminance unlike the normal viewing condition. It was found from the two experiments that the equivalent lightness of elderly people was composed of L*achr, L*chr, and L*env.en_US
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้ได้ศึกษาเพื่อหาค่าความสว่างเทียบเท่า (equivalent lightness ; L*eq) ในผู้สูงอายุด้วยแว่นจำลองต้อกระจกและเสนอแนวทางการปรับปรุงค่าความสว่างเทียบเท่าในผู้สูงอายุ โดยการทดลองแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ การทดลองภายใต้สภาวะการมองปกติ (normal viewing condition) และ การทดลองภายใต้สภาวะการมองสภาพแวดล้อมและสิ่งเร้าแยกกันอิสระ (environment-stimulus independent condition) ในการทดลองภายใต้สภาวะการมองปกติ ได้ทำการหาค่าความสว่างเทียบเท่าโดยเทียบความจ้าของสิ่งเร้ามีสีกับความจ้าของแถบสีเทา (heterochromatic brightness matching) ภายใต้ระดับความสว่าง 9 ระดับตั้งแต่ 0.08 – 800lx ภายในห้องผู้สังเกต โดยทดลองทั้งหมด 4 สี ผลที่ได้คือ เมื่อมองสิ่งเร้ามีสีผ่านแว่นจำลองต้อกระจก ค่าความสว่างเทียบที่ได้จากสิ่งเร้ามีสีทั้งหมด 4 สีนั้นมีค่าน้อย ซึ่งมีค่าความสว่างประมาณ 10 หน่วย จากนั้นได้ทดลองศึกษาการปรากฎสีด้วยวิธีการบอกคำเรียกสีพื้นฐาน (elementary color naming) โดยให้ผู้สังเกตบอกปริมาณความเป็นสี (Chromaticness) ความขาว (Whiteness) และความดำ (Blackness) ในรูปร้อยละและบอกสีสันของสิ่งเร้ามีสีทั้ง 4 สีที่วางอยู่ในห้องผู้สังเกต ผลที่ได้คือ เมื่อระดับความสว่างภายในห้องผู้สังเกตมีค่าต่ำ ค่าความอิ่มตัวสีที่ได้มีค่าลดลง ซึ่งเป็นสาเหตุให้ค่าความสว่างเทียบเท่าที่ได้มีค่าลดลง และการทดลองภายใต้สภาวะการมองสภาพแวดล้อมและสิ่งเร้าแยกกันอิสระนั้น เป็นการเสนอแนวทางการปรับปรุงค่าความสว่างเทียบเท่าในผู้สูงอายุให้สูงขึ้น โดยวางสิ่งเร้ามีสีในห้องที่แยกกันจากห้องผู้สังเกตที่มีระดับความสว่างคงที่ที่ 200 lx. ขณะเดียวกันปรับระดับความสว่างภายในห้องผู้สังเกตเช่นเดียวกันกับการทดลองภายใต้สภาวะการมองปกติ ซึ่งการทดลองวิธีนี้จะทำให้ลดผลกระทบที่มาจากแสงในสภาวะแวดล้อม ผลที่ได้แสดงให้เห็นว่าเมื่อมองสิ่งเร้ามีสีผ่านแว่นจำลองต้อกระจก ค่าความสว่างเทียบเท่าที่ได้นั้นมีค่าสูงขึ้นทุกๆระดับความสว่างภายในห้องผู้สังเกต ซึ่งต่างจากการทดลองภายใต้สภาวะการมองปกติ จากการทดลองทั้งสองส่วนทำให้พบว่าค่าความสว่างเทียบเท่าในผู้สูงอายุนั้นประกอบด้วยค่าความสว่างของวัตถุ (L*achr), ค่าความสว่างที่มาจากสีของวัตถุ (L*chr) และค่าความสว่างที่มาจากสภาวะแวดล้อม (L*env)en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.777-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectCataract -- Patientsen_US
dc.subjectOlder peopleen_US
dc.subjectEye -- Protectionen_US
dc.subjectSafety gogglesen_US
dc.titleDetermination of equivalent lightness of small stimulus in the elderly using cataract experiencing gogglesen_US
dc.title.alternativeการหาความสว่างเทียบเท่าของสิ่งเร้าขนาดเล็กในผู้สูงอายุโดยใช้แว่นจำลองต้อกระจกen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineImaging Technologyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorpichayada.k@chula.ac.th-
dc.email.advisorMitsuo.I@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.777-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
patarin_wo.pdf3.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.