Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32973
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์-
dc.contributor.advisorสุรพล บัวพิมพ์-
dc.contributor.authorสุวดี อุปปินใจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย (ภาคเหนือ)-
dc.date.accessioned2013-07-10T04:05:56Z-
dc.date.available2013-07-10T04:05:56Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32973-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และอุปสรรค ในการบริหาร แบบมีส่วนร่วมของชุมชนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่สูงภาคเหนือ และ (2) พัฒนากลยุทธ์ การบริหารแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่สูงภาคเหนือโดยใช้กรอบแนวคิดบันได 8 ขั้น ของการมีส่วนร่วมของประชาชน ของ Sherry R. Arnstein เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา อุปสรรคของการบริหารแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ด้วยวิธีการสังเกตและ การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้เสียของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่สูงภาคเหนือทั้ง 2 แห่ง พัฒนากลยุทธ์บริหารแบบมีส่วนร่วมของชุมชนโดยใช้ เทคนิค SWOT Analysis และ TOWS Matrix ตรวจสอบและประเมินความเหมาะสมของกลยุทธ์โดยชุมชน ด้วยการการสนทนากลุ่ม ตรวจสอบและประเมินความเหมาะสมของกลยุทธ์โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้วยแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า (1) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่สูงภาคเหนือในปัจจุบันของโรงเรียนที่ 1 อยู่ในระดับที่ 1 คือ ระดับการร่วมมือหรือการไม่มีส่วนร่วม ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 การจัดฉาก และขั้นที่ 2 การดูแลรักษา ส่วนโรงเรียนที่ 2 อยู่ใน ระดับที่ 2 คือ ระดับการมีส่วนร่วม พอเป็นพิธี หรือการมีส่วนร่วมบางส่วน ตั้งแต่ ขั้นที่ 3 ถึงขั้นที่ 5 การรับรู้ข่าวสารสนเทศ การปรึกษาหารือ และ การทำให้พอใจ (2) กลยุทธ์การบริหารแบบมีส่วนร่วมของชุมชนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่สูงภาคเหนือ ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์หลัก คือ 1) สร้างสมัชชาการศึกษาของชุมชน 2) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างเครือข่ายการระดมทุนและทรัพยากรในเพื่อพัฒนาการศึกษา 3) พัฒนาภาวะผู้นำ ในการบริหารแบบมีส่วนร่วมของชุมชน และ 4) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ตามลำดับ ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ คือ 1) ควรมีการนำร่องการจัดตั้งสมัชชาการศึกษาของชุมชน 2) ควรส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมเพื่อการระดมทุนและทรัพยากรในการพัฒนาการศึกษา 3) รัฐควรส่งเสริมการใช้องค์ความรู้ในการบริหารแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research were (1) to explore the current state, problems, and obstacles of the community participation management of basic education institutions in the northern highland area and (2) to develop the community participation management strategies for the basic educational institutions. The conceptual framework was baseddon. Sherry R Arnstein’s ladder of citizen participation. Collecting the needed data through the application of the observation, in-depth interview, and the current state of community participation of stake holders of two basic education institations. Develop the community the community participation management strategies by using the SWOT Analysis and TOWS Matrix, assessing the suitability of the strategies through questionnaires and focus group. The research results indicated that (1) the current state of community participation management of the first basic educational institution was at level 1: non-participation including manipulation and therapy. The community participation management of the second school was at level 2 : degree of tokenism including informing, consultation, and placation. (2) there were four main community participation management strategies for the basic education institutions in the northern highland area as follows 1) establishing the community educational assembly, 2) supporting the community participation in the network for educational fund raising, 3) improving the leadership for community participation management, and 4) enhancing the community participation in curriculum and instructional development perpeetively. There were three recommendations 1) the pilot project for community educational assembly should be conducted; 2) the community participation for educational fund raising should be promoted; and 3) the knowledge based community participation management in education should be promoted by the state.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1320-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการวางแผนการศึกษา -- ไทย (ภาคเหนือ)en_US
dc.subjectการศึกษาขั้นพื้นฐาน -- ไทย (ภาคเหนือ)en_US
dc.subjectโรงเรียน -- การบริหาร -- ไทย (ภาคเหนือ)en_US
dc.subjectการพัฒนาชุมชน -- ไทย (ภาคเหนือ)en_US
dc.subjectEducational planning -- Thailand, Northernen_US
dc.subjectBasic education -- Thailand, Northernen_US
dc.subjectSchool management and organization -- Thailand, Northernen_US
dc.subjectCommunity development -- Thailand, Northernen_US
dc.titleการพัฒนากลยุทธ์การบริหารแบบมีส่วนร่วมของชุมชนสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่สูงภาคเหนือen_US
dc.title.alternativeThe development of community participation management strategies for basic education institutions in Northern highland areasen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpruet.s@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1320-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suwadee_ou.pdf2.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.