Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33017
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรุณี หงษ์ศิริวัฒน์
dc.contributor.advisorสุชาติ ตันธนะเดชา
dc.contributor.authorอริสรา ธานีรณานนท์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned2013-07-11T06:22:52Z
dc.date.available2013-07-11T06:22:52Z
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33017
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์สมรรถนะนักบัญชีและมาตรฐานผลการเรียนรู้ พัฒนาและประเมินโมดูลการฝึกอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมคณาจารย์ผู้สอนวิชาบัญชี ตามแนวทางการกากับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี และมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี ประชากร คือ 1) คณาจารย์ผู้สอนวิชาบัญชีทั่วประเทศในมหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยของเอกชน 2) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิชาชีพ ด้านกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาการอุดมศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ 1)คณาจารย์ผู้สอนวิชาบัญชีใน 5 รายวิชาระดับปริญญาตรีทั่วประเทศที่สัมภาษณ์ โดยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างอย่างง่ายจากมหาวิทยาลัยของรัฐ 10 คน มหาวิทยาลัยเอกชน 10 คน 2) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิชาชีพบัญชี 4 คน ด้านกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย 4 คน สาขาวิชาอุดมศึกษา 3 คน โดยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 3) คณาจารย์บัญชีทั่วประเทศที่จะเข้าร่วมทดลองอบรมใน 5 รายวิชา 30 คน ระยะเวลา 5 สัปดาห์ รวมทั้งสิ้น 40 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีแบบสัมภาษณ์คณาจารย์บัญชี แบบสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์สาระ แบบทดสอบก่อนหลังการเข้าอบรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และความแตกต่างของระดับคะแนนโดยใช้สถิติ pair t-test แบบสังเกตพฤติกรรมผู้เข้าอบรม แบบประเมินตนเองในฐานะอาจารย์ผู้สอนวิชาชีพบัญชี วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การพิจารณาร่างรูปแบบชุดฝึกอบรมด้วยวิธีอิงประชุมผู้ทรงคุณวุฒิโดยวิธีการวิเคราะห์สาระ ผลการวิจัย พบว่า สมรรถนะหลักของนักบัญชีและมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่ควรพัฒนามี 6 ด้าน ประกอบด้วย 1) คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ 2) ทักษะด้านความรู้ 3) ทักษะทางปัญญาและคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข 4) ทักษะทางการปฏิสัมพันธ์และการสื่อสาร 5) ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6) ทักษะภาวะผู้นาและการจัดการ และในส่วนขององค์ความรู้มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง 2552 ที่ประกาศใช้ตั้งแต่ปี 2554 พบว่าส่งผลกระทบต่อเนื้อหารายวิชาบัญชี ทาให้ต้องปรับปรุงเนื้อหารายวิชาทั้ง 5 รายวิชา ได้แก่ เนื้อหาวิชาการบัญชีขั้นต้น วิชาการบัญชีขั้นกลาง 1และ 2 วิชาการบัญชีขั้นสูง 1 และ 2 ผลการพัฒนาโมดูลการฝึกอบรมโดยวิธีอิงผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วย เนื้อหาชุดฝึกอบรมที่จัดในรูปแบบโมดูล ประกอบด้วย โมดูล 1 วิชาการบัญชีขั้นต้น โมดูล 2 วิชาการบัญชีขั้นกลาง 1 โมดูล 3 วิชาการบัญชีขั้นกลาง 2 โมดูล 4 วิชาการบัญชีขั้นสูง 1 โมดูล 5 วิชาการบัญชีขั้นสูง 2 ผลการทดลองใช้รูปแบบชุดฝึกอบรมกับคณาจารย์ผู้สอนวิชาบัญชีทั่วประเทศ พบว่า ผู้เข้าอบรมสามารถระบุมาตรฐานผลการเรียนรู้สู่รายวิชา และสามารถระบุถึงกลยุทธ์การสอน วิธีการสอน วิธีการประเมินผลการเรียนการสอนตามเนื้อหาวิชาที่เปลี่ยนไป ผลการทดสอบรายวิชาทั้ง 5 โมดูล เมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังการอบรมมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to analyze and synthesize the accountant competencies and learning achievement standard, and, to develop and evaluate a readiness training module for accounting course lecturers in accordance with the Good Governance of Professional Accountants and Qualification Framework of Bachelor Degree in Accountancy. The population comprised, firstly, accounting course lecturers at public and private universities nationwide; and, secondly, experts in professional qualification, in Thailand Bachelor’s Degree Qualification Standard and in higher education. The sample groups were, firstly, lecturers of five undergraduate accounting courses (ten lecturers from public universities and ten lecturers from private universities, randomly selected and interviewed); secondly, four experts in accounting professional qualification, four experts in Thailand Bachelor’s Degree Qualification Standard and three experts in higher education (specifically selected); and, thirdly, thirty accounting lecturers nationwide who participated in the experimental training of five courses over a period of five weeks for a total of forty hours. The tools used were interview with accounting lecturers and interview with experts where data was analyzed using the content analysis method and pre-training and post-training tests for average, standard deviation and difference in the levels of score using pair t-test; and, training participant behavior observation and self-evaluation for accounting courses lecturers where data was analyzed for average and standard deviation. The training module was reviewed by a connoisseurship model using the content analysis method. The research has found that there are six key dimensions to the accountant competencies and learning achievement standard which should be developed: 1) moral and ethics; 2) knowledge skills; 3) intellectual and numerical analytic skills; 4) interaction and communication skills; 5) information technology usage skills; and, 6) leadership and management skills. As for the 2009 revision of the Financial Reporting Standard and published for use in 2011 with effects on the content of the accounting courses, it is found that there are five affected courses whose contents need to be revised: Introduction to Accounting, Intermediate Accounting 1 and 2, and, Advanced Accounting 1 and 2. The training module was developed using the connoisseurship method with content classified into modules: Module 1 – Basic Accounting, Module 2 – Intermediate Accounting 1, Module 3 – Intermediate Accounting 2, Module 4 – Advanced Accounting 1, and, Module 5 – Advanced Accounting 2. The training module was implemented on an experimental basis with lecturers across the country. It was found that training participants were able to identify learning achievement standard for the courses, as well as teaching strategies, methodology and evaluation to reflect the changed course content. The test of all five modules for the courses has produced a significant statistical difference pre-training and post-training of .05.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1338-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.subjectอาจารย์มหาวิทยาลัย -- การฝึกอบรมen_US
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์en_US
dc.subjectการบัญชี -- การศึกษาและการสอนen_US
dc.subjectนักบัญชีen_US
dc.subjectการบัญชี -- หลักสูตร -- มาตรฐานen_US
dc.subjectCollege teachers -- Training
dc.subjectHuman resources development
dc.subjectAccounting -- Study and teaching
dc.subjectAccountants
dc.subjectAccounting -- Curricula -- Standards
dc.titleการพัฒนาโมดูลการฝึกอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมคณาจารย์ผู้สอนวิชาบัญชี ตามแนวทางการกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี และมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชีen_US
dc.title.alternativeDevelopment of training modules for accountancy faculty development based on corporate governance of professional accountants and qualification fraework of bahelor degree in accountancyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineอุดมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorArunee.Ho@Chula.ac.th
dc.email.advisorSuchart.T@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1338-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
arisara_th.pdf4.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.