Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3321
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุชาติ ตันธนะเดชา | - |
dc.contributor.advisor | วราภรณ์ บวรศิริ | - |
dc.contributor.author | เกษม บำรุงเวช, 2501- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2007-01-11T06:53:58Z | - |
dc.date.available | 2007-01-11T06:53:58Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9741767838 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3321 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบกระบวนการในการจัดการการศึกษาโปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา กับภาควิชาภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลการวิจัยพบว่าการที่โปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษจะพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับมาตรฐานภาควิชาภาษาอังกฤษจำเป็นต้องดำเนินงานด้วยแผนกลยุทธ์ 4 ด้าน รวม 14 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1. เสริมสร้างรากฐานของโปรแกรมวิชาให้เข้มแข็งด้วย 5 ยุทธศาสตร์ คือ 1.1 พัฒนาและเพิ่มศักยภาพของบุคลากร 1.2 พัฒนาทักษะพื้นฐานด้านภาษาอังกฤษของนักศึกษา 1.3 พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรและแผนการเรียน 1.4 ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารของโปรแกรมวิชา และ 1.5 ปรับปรุงและเพิ่มเติมทรัพยากรการเรียนรู้ของโปรแกรมวิชา 2. ปฏิรูปกระบวนการดำเนินงานภายในด้วยแนวปฏิบัติที่ดีที่ศึกษาได้จากภาควิชาภาษาอังกฤษด้วย 2 ยุทธศาสตร์ คือ 2.1 ปฏิรูปกระบวนการหลัก และ 2.2 ปฏิรูปกระบวนการสนับสนุน 3. สร้างความพึงพอใจให้แก่นักศึกษาและผู้ที่มีส่วนได้เสียด้วย 4 ยุทธศาสตร์ คือ 3.1 ดำเนินงานและให้บริการด้วยคุณภาพ 3.2 เพิ่มคุณค่าการดำเนินงานด้วยหลักปฏิบัติที่ดี 7 ด้านของชิคเคอริงและแกมสัน 3.3 สร้างความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับนักศึกษาและผู้ที่มีส่วนได้เสีย และ 3.4 สร้างภาพลักษณ์ขององค์กรด้วยผลสำเร็จของบัณฑิตและผลงานทางวิชาการ 4. สร้างความคุ้มค่าในการบริหารการเงินด้วย 3 ยุทธศาสตร์ คือ 4.1 จัดระบบการจัดสรรงบประมาณ 4.2 สร้างผลงานเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ และ 4.3 แสวงหารายได้เพิ่ม | en |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are to compare the educational management processes between the English Language Program (ELP),Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University and the Department of English, Chulalongkorn University. The research has shown that there are many important gaps in almost every processes. To close them, the ELP has to execute 4 missions with 14 strategies as follows: 1. Strengthen the fundamentals of the ELP through 5 strategies: 1.1 fulfill the staff's qualifications, 1.2 develop students basic English skill, 1.3 update the curriculum and a learning program, 1.4 improve a management system, and 1.5 improve and provide learning resources. 2. Reform internal educational processes by using the best practices from the research findings through 2 strategies: 2.1 reform the core of the educational processes, and 2.2 the supporting educational processes. 3. Ensure satisfaction in the performance of the ELP through 4 strategies: 3.1 concentrate on the quality in every processes, 3.2 increasemore benefit with the 7 principles for good practices of Chickering and Gamson, 3.3 build a close relationship with the students and stakeholders, and 3.4 present a good image with the success of graduate students and the ELP's productivity. 4. Be worth in a financial management through 3 strategies as follows: 4.1 set a financial system, 4.2 create more productivity both the quantity and the quality, 4.3 get more money by the ELP's productivity. | en |
dc.format.extent | 207839048 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2004.388 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน | en |
dc.subject | การวางแผนหลักสูตร | en |
dc.title | การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา โดยวิธีการเปรียบเทียบสมรรถนะกับภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title.alternative | The development of the quality of education in English Language Program, the Humanities and Social Sciences Faculty, Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University by using benchmarking methodology with the Department of English, the Faculty of Arts, Chulalongkorn University | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | en |
dc.degree.discipline | อุดมศึกษา | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Suchart.T@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Varaporn.B@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2004.388 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.