Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33316
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุลักษณ์ ศรีบุรี-
dc.contributor.authorอภิรัตน์ แก้วกัน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2013-07-22T11:26:44Z-
dc.date.available2013-07-22T11:26:44Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33316-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractศึกษาทัศนะของผู้เชี่ยวชาญและอาจารย์สาขาศิลปะการแสดง เกี่ยวกับวิชาพื้นฐานศิลปะในหลักสูตรศิลปะการแสดง ระดับปริญญาตรี ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไ ทย โดยการวิเคราะห์เอกสารหลักสูตรศิลปะการแสดง จำนวน 8 หลักสูตร 6 สถาบัน และการสัมภาษณ์อาจารย์ ผู้สอนในสาขาศิลปะการแสดง จไนวน 18 คน และผู้เชี่ยวชาญทางด้านศิลปะการแสดง จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครัง้นี้ เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้างสำหรับผู้เชี่ยวชาญและอาจารย์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา หาค่าความถี่ และค่าฐานนิยม ผลการวิจัยพบว่า 1) หลักสูตรศิลปะการแสดง ระดับปริญญาตรี ทัง้ 8 หลักสูตร เป็นหลักสูตร 4 ปี แบ่งเป็น ปริญญาอักษรศาสตรบัณฑิต 2 หลักสูตร ศิลปกรรมศาสตรบัญฑิต 4 หลักสูตร และนิเทศศาสตรบัณฑิต 2 หลักสูตร ด้านการวิเคราะห์วัตถุประสงค์หลักสูตร พบว่า ทุกหลักสูตรมีการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัยไว้ครบถ้วน ด้านโครงสร้างหลักสูตร พบว่า ทุกหลักสูตรสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ.2548 โดยมีการแบ่งเป็นหมวดวิชาพื้นฐานทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า1 20 หน่วยกิต ด้านการจัดเนื้อหาวิชาพื้นฐานศิลปะและวิชาศิลปะการแสดง พบว่าทั้ง 8 หลักสูตร มีการจัดเนื้อหาวิชาไว้ในหลักสูตรแตกต่างกัน 2) ผลการศึกษาทัศนะของผู้เชี่ยวชาญและอาจารย์สาขาศิลปะการแสดงเกี่ยวกับวิชาพื้นฐาน ศิลปะในหลักสูตรศิลปะการแสดง พบว่า ผู้เชี่ยวชาญและอาจารย์สาขาศิลปะการแสดง ส่วนมากมีความคิดเห็น สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน ในด้านความสำคัญของวิชาพื้นฐานศิลปะ ที่มีต่อกิจกรรมการเรียนการสอนวิชา ศิลปะการแสดง ด้านแนวทางการจัดวิชาพื้นฐานศิลปะในหลักสูตรศิลปะการแสดง และด้านแนวทางการพัฒนาหลักสูตรศิลปะการแสดง ระดับปริญญาตรี ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยen_US
dc.description.abstractalternativeTo study the opinion of performing arts experts and instructors about art foundation course in performing arts undergraduate programs in higher education institutions in Thailand. This research analyzed 8 Performing Arts undergraduate programs documents from 6 universities in Thailand, and the interview of 18 experts in Performing Arts Major and interview of 18 instructors in performing arts area. The instrument used in this study was the semi structured interview form for experts and instructors. Data was analyzed by frequencies and mode computation, the result shows that: 1) All performing arts undergraduate programs in 8 universities are 4-year program. Two of them are Bachelor of Arts, four of them are Bachelor of Fine Arts, and two are Bachelor of Communication Art. According program structure analysis, all programs stated noticeably the objectives in terms of cognitive domain, affective domain, and psychomotor domain. For the structure, all programs applied Bachelor Degree Program 2548 B.E. Standards where courses divided into general basic courses, core courses, and elective courses. All programs have at least 120 credits. In program content arrangement for art foundation and performing arts courses, this study found that each university includes different performing arts contents in art foundation courses; these differences also be found in contents regarding performing art subjects. 2) In the area of art foundation, viewpoints from both art experts and art instructors are spotted to the same direction; they mentioned the importance of art foundations in process of studying, arranging, and developing performing arts undergraduate programs in higher education institutions in Thailand.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.529-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการวางแผนหลักสูตรen_US
dc.subjectศิลปะ -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา) -- ไทยen_US
dc.subjectศิลปะการแสดง -- หลักสูตร -- ไทยen_US
dc.subjectCurriculum planningen_US
dc.subjectPerforming arts -- Curriculaen_US
dc.subjectArts -- Study and teaching (Higher)en_US
dc.titleการศึกษาทัศนะของผู้เชี่ยวชาญและอาจารย์สาขาศิลปะการแสดงเกี่ยวกับวิชาพื้นฐานศิลปะ ในหลักสูตรศิลปะการแสดง ระดับปริญญาตรี ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeA study of opinions of performing arts experts and instructors about art foundaton courses in performing arts undergraduate programs in higher education institutions in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineศิลปศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSulak.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.529-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
aphirat_ka.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.